คณิตศาสตร์ แสนสนุก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
สื่อการสอน เรื่องการบวก ลบ คูณ หาร ระคน
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
LAB # 3 Computer Programming 1
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
อสมการ.
Wangg991.wordpress.com Stand SW 100 Click when ready  Reasoning.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
Digital Logic and Circuit Design
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
เทคนิค การเติมเต็ม พลังชีวิตให้สำเร็จ 100%
เศษส่วน.
ด.ญ. เปรมศิณี แร่มี เลขที่ 14
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
รายละเอียดของ Print Screen หน้าจอสังเกตการณ์ ของคณะกรรมการประกวดราคา (โปรแกรม CAT e-auction โลโก้ใหม่)
การนำ การคิด แบบหญิงยุคใหม่
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
เรื่อง การบวกจำนวนสองจำนวน โรงเรียนบุรพรัตน์วิทยาคาร
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การสร้างแบบเสื้อและแขน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์ แสนสนุก

จะวางตำแหน่งของตัวเลขอย่างไรให้ผลบวกของสองจำนวนที่อยู่ติดกันบนปลายข้างหนึ่งของเส้นคู่หนึ่งเท่ากับผลบวกบนปลายอีกข้างหนึ่ง ของเส้นทุกคู่ 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 + 1 = 11 6 + 5 = 11

จะวางตำแหน่งของตัวเลขอย่างไรให้ผลบวกของสองจำนวนที่อยู่ติดกันบนปลายข้างหนึ่งของเส้นคู่หนึ่งเท่ากับผลบวกบนปลายอีกข้างหนึ่ง ของเส้นทุกคู่ 10 1 3 5 6 8 9 2 7 4

จะวางตำแหน่งของตัวเลขอย่างไรให้ผลบวกของสองจำนวนที่อยู่ติดกันบนปลายข้างหนึ่งของเส้นคู่หนึ่งเท่ากับผลบวกบนปลายอีกข้างหนึ่ง ของเส้นทุกคู่ 10 1 7 3 9 5 6 2 8 4

1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7 + 8 + 9 = 100 ผลบวกข้างซ้ายมือได้เพียง 45 เท่านั้น แก้เครื่องหมาย ใส่วงเล็บตรงไหนดี เพื่อให้ผลบวกเป็น 100 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + 6 + 7 + (8 x 9) = 100

ใส่เครื่องหมายอะไร ที่ตรงไหนดี สองข้างจึงจะเท่ากัน 5 5 5 5 5 4 4 4 4 4 = ใส่เครื่องหมายอะไร ที่ตรงไหนดี สองข้างจึงจะเท่ากัน = 4 + [(4 + 4) (4 + 4)] (5 + 5) - (5 + 5) + 5 = (5 x 5) + 5 - (5 + 5) 4 + 4 + 4 + 4 + 4

82 – 72 = 64 – 49 = 15 8 + 7 = 15 102 – 92 = 100 – 81 = 19 10 + 9 = 19 a2 - b2 = a + b เมื่อ a - b = 1 เพราะ a2 - b2 = (a + b)(a – b) = a + b เมื่อ a - b = 1 62 - 42 = 36 – 16 = 20 ไม่เท่ากับ 6 + 4

9 x 11 = 99 10 x 11 = 110 11 x 11 = 121 12 x 11 = 132 13 x 11 = 143 90 + 9 n x 11 = n(10 + 1) = 10n + n 100 + 10 110 + 11 120 + 12 130 + 13 ทำไมทำเช่นนี้ได้ จำนวนนับใดคูณกับ 11 ให้เติม 0 แล้วนำมาบวกกับจำนวนนับนั้น

9 x 9 = 81 10 x 9 = 90 11 x 9 = 99 12 x 11 = 132 13 x 11 = 143 90 - 9 n x 9 = n(10 - 1) = 10n - n 100 - 10 110 - 11 120 + 12 130 + 13 ทำไมทำเช่นนี้ได้ จำนวนนับใดคูณกับ 9 ให้เติม 0 แล้วนำมาลบกับจำนวนนับนั้น

บอกได้ไหม ลูกเสือกองนี้มีกี่คน ลูกเสือกองหนึ่งเข้าแถวหน้ากระดานเรียงหนึ่ง ครูฝึกให้นับ 1 ถึง 3 ปรากฏว่า คนสุดท้ายนับ 3 พอดี ครูฝึกให้คนที่นับ 3 ก้าวออกมาจัดเป็นแถวใหม่ แล้วให้นับ 1 ถึง 3 ใหม่ ปรากฏว่า คนสุดท้ายนับ 1 ครูฝึกให้คนที่นับ 3 ก้าวออกมาจัดเป็นแถวใหม่ แล้วให้นับ 1 ถึง 3 ใหม่ ปรากฏว่า นับได้แค่ 2 เท่านั้น บอกได้ไหม ลูกเสือกองนี้มีกี่คน

ลูกเสือกองหนึ่งเข้าแถวหน้ากระดานเรียงหนึ่ง ครูฝึกให้นับ 1 ถึง 3 ปรากฏว่า คนสุดท้ายนับ 3 พอดี ครูฝึกให้คนที่นับ 3 ก้าวออกมาจัดเป็นแถวใหม่ แล้วให้นับ 1 ถึง 3 ใหม่ ปรากฏว่า คนสุดท้ายนับ 1 ครูฝึกให้คนที่นับ 3 ก้าวออกมาจัดเป็นแถวใหม่ แล้วให้นับ 1 ถึง 3 ใหม่ ปรากฏว่า นับได้แค่ 2 เท่านั้น 2 7(3) = 21 2(3) + 1 = 7

ดังนั้นมีลูกเสือทั้งหมด 21 คน ลูกเสือกองหนึ่งเข้าแถวหน้ากระดานเรียงหนึ่ง ครูฝึกให้นับ 1 ถึง 3 ปรากฏว่า คนสุดท้ายนับ 3 พอดี ครูฝึกให้คนที่นับ 3 ก้าวออกมาจัดเป็นแถวใหม่ แล้วให้นับ 1 ถึง 3 ใหม่ ปรากฏว่า คนสุดท้ายนับ 1 ครูฝึกให้คนที่นับ 3 ก้าวออกมาจัดเป็นแถวใหม่ แล้วให้นับ 1 ถึง 3 ใหม่ ปรากฏว่า นับได้แค่ 2 เท่านั้น ดังนั้นมีลูกเสือทั้งหมด 21 คน