ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ
มาตรการที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ปรับความเย็นให้อยู่ในระดับที่ต้องการเท่านั้น ไม่ควรต่ำจนเกินไป การใช้งานไม่เต็มพื้นที่ ควรกำหนดให้เครื่องทำความเย็นทำงานเป็นส่วน ๆ ตามพื้นที่ที่ใช้งาน ควบคุมปริมาณอากาศจากภายนอกที่จะเข้ามาภายในอาคาร ควรติดตั้งเครื่องปรับอากาศให้สูงจากพื้นพอสมควรเพื่อให้ลมเย็นกระจายไปทั่วถึงไปทั่วถึงบริเวณต่างๆ เช่น ห้องพัก ห้องทำงาน
มาตรการที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย (ต่อ) ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าและหลอดไฟฟ้าแสงสว่างที่ไม่จำเป็น ช่วยลดปริมาณความร้อนภายในอาคาร นำตู้มาตั้งชิดผนังด้านที่โดนแสงแดดเพื่อลดความร้อนจากภายนอกเข้าสู่อาคารโดยตรง ทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศทุก ๆ เดือน ปิดประตู หน้าต่างและผ้าม่านให้สนิท ตรวจสอบห้องเป็นประจำเพื่อลดการสูญเสียความเย็นตามจุดรั่วต่างๆ
มาตรการที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ติดตั้งฉนวนบุเพดาน ติดตั้งกระจก 2 ชั้นเพื่อลดความร้อนจากภายนอก ติดตั้งเครื่องควบคุมการจ่ายลม เพื่อช่วยควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสม ติดตั้งม่าน กันแสงแดดที่กระจกหน้าต่าง เพื่อลดความร้อนจากภายนอก
มาตรการที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ติดตั้งแผ่นสะท้อนความร้อนจากแสงอาทิตย์ ติดตั้งระบบกุญแจสัมผัสปิดเปิดไฟฟ้าอัตโนมัติในห้องพักผู้ป่วย เลือกใช้เครื่องทำความเย็นประสิทธิภาพสูง ปลูกต้นไม้รอบ ๆ อาคาร
เครื่องปรับอากาศ การใช้งาน ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ ๒๕ – ๒๖ องศาเซลเซียส เปิดพัดลมระบายอากาศเท่าที่จำเป็น ปิดเครื่องปรับอากาศขนาด ๑ ตัน เร็วขึ้นวันละ ๑ ชั่วโมง ๑ ล้านเครื่อง ประหยัดปีละ ๗๕๖ ล้านบาท
เครื่องปรับอากาศ การบำรุงรักษา ทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ (Filter) และคอยล์ทำความเย็นอย่างน้อย เดือนละ ๑ ครั้ง ทำความสะอาดแผงระบายความร้อนทุก ๖ เดือน
เครื่องปรับอากาศ ลด...ละ...เลิก ไม่ตั้งตู้เย็น ไม่รีดผ้า ไม่ต้มน้ำในห้องที่มีการปรับอากาศ ตั้งอุณหภูมิที่ระดับร่างกายรู้สึกสบายโดยไม่ต่ำกว่า 25°C ถ้าไม่อยู่ห้องเกิน 1 ชั่วโมง ควรปิดเครื่องปรับอากาศ ไม่ปลูกต้นไม้หรือตากผ้าในห้องที่มีการปรับอากาศ
เครื่องปรับอากาศ ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เลือกขนาดเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับห้อง ทาสีผนังด้านนอกด้วยสีอ่อน เพื่อสะท้อนความร้อนไม่ ให้เข้าสู่ตัวอาคาร ติดตั้งกันสาด มู่ลี่ ให้กับหน้าต่าง เพื่อป้องกันความร้อนจาก แสงแดด
เครื่องปรับอากาศ ดูแลรักษาและใช้อย่างถูกวิธี หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศอย่างสม่ำเสมอ อย่านำสิ่งของไปวางขวางทางลมเข้า-ออกของชุดระบาย ความร้อน อย่าตั้งชุดระบายความร้อนใกล้ผนังเกินไป ควรตั้งให้ห่าง อย่างน้อย 15 ซม.
ผลการตรวจวัดพลังไฟฟ้าก่อนและหลังล้างเครื่องปรับอากาศ พลังไฟฟ้าก่อนล้าง (กิโลวัตต์) พลังไฟฟ้าหลังล้าง พลังไฟฟ้าลดลง ( % ) KW/TON ลดลง (%) ห้องทำงาน ตัวที่ ขนาด 30,825 BTU/hr เบอร์5) 2.53 2.44 3.56% 23.63 % ห้องที่ 3 ( 25,000 BTU/hr) ไม่มีฉลากเบอร์5) 2.77 2.45 11.55% 32.87% ห้องที่ 4 ( 13,500 1.61 1.46 9.32% 23.89% ห้องที่ 5 ( 18,300 1.49 1.37 8.05% 22.99% 3.40 2.60 23.53% 39.72 % 1 2 ( น้ำยาน้อย ) ตัวที่
อากาศรั่วไหลที่ประตู
ติดโช้ค ปิดประตูอัตโนมัติ
ขอบประตู หน้าต่าง ปิดไม่สนิท
Any cracks in walls or around plumbing and electrical conduit should be well sealed.
พัดลมระบายอากาศ ไม่เปิดนานเกินไป ระบายอากาศเย็นออก รับอากาศบริสุทธิ์ร้อน ต้องไม่มากเกินไป
ร้านทำผม , ห้องในโรงพยาบาล อัตราการระบายอากาศ ตามมาตรฐาน ASHRAE ANSI/ASHRAE Standard 62-198 : 1989, Ventilation for Acceptable Indoor Air Quality พื้นที่ ลบ.ฟ. / คน สำนักงาน ร้านอาหาร 20 ห้องพักในโรงแรม 30 ต่อห้อง ห้องประชุม 15 - 20 ร้านทำผม , ห้องในโรงพยาบาล 25 พื้นที่สูบบุหรี่ 60 ร้านขายของ , ห้องเรียน 15
อัตราการระบายอากาศ ตามกฎกระทรวง 33, 39 ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 พื้นที่ ไม่น้อยกว่า จำนวนเท่าของปริมาตรห้อง ใน 1 ชม. ห้องน้ำ ที่บ้าน/ที่ทำงาน 2 ห้องน้ำ สาธารณะ 4 ร้านค้า โรงงาน โรงมหรสพที่จอดรถใต้ดิน สำนักงาน ร้านอาหาร 7 ห้องพักในโรงแรม/อาคารชุด สำหรับห้องครัวของร้านอาหารน้อยกว่าที่กำหนดได้ แต่ต้องมีการระบายอากาศคลุมแห่งที่เกิดของกลิ่น ควัน ไม่น้อยกว่า 12 เท่าของปริมาตร ของห้องใน 1 ชั่วโมง
แอร์ เบอร์ 5 ไทย 25 °C จีน 26 °C ญี่ปุ่น 28 °C ปรับเทอร์โมสตัต ทุก 1 องศา ประหยัดได้ 2-4 %
ตั้งคอนเดนซิ่งให้ระบายความร้อนดี
แจกัน ตู้ปลา ทำให้แอร์กินไฟมากขึ้น
พัดลมระบายอากาศ ลด...ละ...เลิก อย่าเปิดทิ้งไว้ เมื่อไม่มีคนอยู่ เปิดหน้าต่าง เพื่อใช้ลมธรรมชาติช่วยถ่ายเทอากาศ ภายในห้อง ไม่สูบบุหรี่ภายในห้อง เพื่อลดการใช้พัดลม ระบายอากาศ
พัดลมระบายอากาศ ดูแลรักษาและใช้อย่างถูกวิธี หมั่นทำความสะอาดใบพัดและตะแกรง ตั้งความเร็วพัดลมให้พอเหมาะ ไม่เร็วหรือช้าเกินไป ห้องที่มีการปรับอากาศควรเลือกขนาดของพัดลม ระบายอากาศให้เหมาะสมเพื่อสุขอนามัย ก่อนเปิดเครื่องปรับอากาศควรเปิดประตูและหน้าต่าง แทนการใช้พัดลมระบายอากาศ