7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 4 ปี (พ.ศ – 2561) ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2556.
Advertisements

การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
กว่าจะมาเป็น … เครือข่าย
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
ระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการกลาง กลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
กลุ่ม 2 ข้อ 4. ปัญหา สาเหตุ แนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไข
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
กระบวนการจัดการความรู้
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
วิสัยทัศน์ “ เป็นองค์กรที่พัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
งานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
สรุปผลการประชุมกลุ่มที่ 3
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
“การเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการเงินในระบบสหกรณ์"
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
วิสัยทัศน์ทางการค้า ศูนย์กลางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยวครบวงจร.
Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร
ไม่พบข้อบกพร่องและพบข้อบกพร่อง
การสังเคราะห์ (synthesis)
ระบบสารสนเทศที่แบ่งตามลักษณะการสนับสนุนการทำงาน:
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ แผนงานปี 2557 สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ แผนงานปี 2557.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน มีความสนใจหรือมีผลประโยชน์ร่วมกัน การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในเครือข่าย มีการเสริมสร้างซึ่งกันและกัน มีการเกื้อหนุนพึ่งพากัน มีปฏิสัมพันธ์กันในเชิงแลกเปลี่ยน

การรักษาเครือข่าย มีการจัดกิจกรรมร่วมดำเนินอย่างต่อเนื่อง การรักษาสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกเครือข่าย กำหนดกลไกสร้างระบบจูงใจ จัดหาทรัพยากรสนับสนุนเพียงพอ ให้ความช่วยเหลือและช่วยแก้ไขปัญหา มีการสร้างผู้นำรุ่นใหม่อย่างต่อเนื่อง

แนวทางการขับเคลื่อนเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่ (Whole Value Chain Network) นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์

“เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง” (1) แนวทางการขับเคลื่อนตามนโยบายการขับเคลื่อน “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง”

นโยบายการขับเคลื่อน “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง” นโยบายการขับเคลื่อน “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง” Whole Value Chain Network “เครือข่ายเข้มข้น สหกรณ์เข้มแข็ง” เครือข่ายเข้มข้นมากขึ้น เชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่เครือข่าย จากนโยบายสู่แนวทางปฏิบัติ ความชัดเจนและเข้าใจในเรื่อง Whole Value Chain Network เครือข่ายเข้มข้น แยกเป็น 3 ระดับ 1. การสร้างเครือข่าย 2. การพัฒนาเครือข่าย 3. การเชื่อมโยงเครือข่าย

กำหนดกรอบแนวทางสู่การปฏิบัติ Whole value chain network แผนงาน 3 เครือข่ายเข้มข้น เชื่อมโยงเครือข่ายในและนอกจังหวัดให้เข้มข้นยิ่งขึ้น แนวทางปฏิบัติ กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้มีหนังสือ ที่ กษ 1109/14168 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2556 แจ้งการขับเคลื่อนให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ตลอดมูลค่าของห่วงโซ่การผลิต Output ข้อมูลที่เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายสหกรณ์ทั้งหมดในจังหวัด แผนภาพการเชื่อมโยง เครือข่ายของสหกรณ์ ทั้งภายในและภายนอกจังหวัดที่ชัดเจน การส่งเสริมสนับสนุนให้มีการสร้าง การพัฒนาและการเชื่อมโยงเครือข่ายของสหกรณ์ในจังหวัดที่มีความเข้มข้นยิ่งขึ้น

กำหนดกรอบแนวทางสู่การปฏิบัติ Whole value chain network แผนงาน 4เชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่เครือข่าย เชื่อมโยงเครือข่ายตลอดทั้งห่วงโซ่การผลิต ในภาพรวมของประเทศ แนวทางปฏิบัติ ส่วนภูมิภาค (ผู้ขับเคลื่อนหลัก สกจ.) คัดเลือกการเชื่อมโยงเครือข่ายเด่นของจังหวัด และจัดทำแผน/โครงการการเชื่อมโยเครือข่ายตลอดห่วงโซ่การผลิต ดังนี้ เครือข่ายผลผลิตหลักของสหกรณ์ อย่างน้อย 1 ผลผลิต เครือข่ายการเงิน (ซึ่งอาจไปเชื่อมโยงกับผลผลิตอื่นๆ ) จัดทำแผนการขอกู้เงิน กพส.ดำเนินโครงการ Output Project ที่เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายของสหกรณ์ชัดเจน และเข้มข้นยิ่งขึ้น

(2) การขับเคลื่อน Whole Value Chain Network ด้วย Logistics และ Supply Chain

ระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน Logistic (Log) กิจกรรมของผู้ผลิต (Suppliers) ในการจัดการสินค้าจนถึงผู้บริโภคขั้นสุดท้ายโดยประหยัดต้นทุน ตรงเวลา และความเชื่อถือ Supply Chain (S) จำนวนผู้ผลิตทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าจนถึงผู้บริโภคคนสุดท้าย Value Chain (VC) มูลค่าหรือราคาสินค้าของผู้ผลิต (Suppliers) ที่ได้รับของแต่ละผู้ผลิตจนส่งผู้บริโภคคนสุดท้ายของ Suppliers การเพิ่มมูลค่า (Value Chain) หรือราคาสินค้าของผู้ผลิต (Suppliers) ที่ได้รับของแต่ละห่วงโซ่อุปทาน ต้องรู้ว่ามีต้นทุนเพิ่มเท่าไหร่ และเปรียบเทียบมูลค่าที่เพิ่มขึ้นกับต้นทุนที่เกิดว่าจะคุ้มกันหรือไม่

โลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตร เกษตรกร สถาบันเกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ สถาบันเกษตรกร สถาบันเกษตรกร สถาบันเกษตรกร พืช ผลิต เก็บรักษา การตลาด ผู้บริโภค ขนส่ง การแปรรูป การรวบรวม ผลผลิต ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง ขนส่ง ปศุสัตว์ ประมง การจัดการ ปัจจัยการผลิต การจัดการฟาร์ม และคุณภาพสินค้าในฟาร์ม การจัดการโครงสร้างพื้นฐานในการเก็บรวบรวม เทคโนโลยี การเก็บรักษา/ห้องเย็น/โกดัง/ยุ้งฉาง เทคโนโลยีและนวัตกรรม การแปรรูปผลิตภัณฑ์ จัดการคุณภาพมาตรฐานสินค้าและการส่งเสริมการตลาด ตลาดในประเทศ ตลาดต่างประเทศ แหล่งรวบรวมและกระจายสินค้า (Distribution Center – DC) มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในฐานะเป็นกิจกรรมในการลดต้นทุนโลจิสติกส์และทำให้ระบบการกระจายสินค้าสามารถขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ การที่ประเทศไทยไม่สามารถพัฒนาการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ไปสู่ในระดับ World Class Logistics ได้นั้น นอกเหนือจากปัจจัยหลายประการแล้ว ปัจจัยที่สำคัญก็คือ ยังขาดการสนับสนุนการพัฒนา DC ให้มีมาตรฐานสากล ซึ่งหากพิจารณาในภาคการเกษตร จะพบว่า มีแหล่งรวบรวมและกระจายสินค้าเกษตรเศรษฐกิจที่สำคัญหลายชนิด ทั้งสินค้าพืช ปศุสัตว์และ ประมง ซึ่งแหล่งรวบรวมและกระจายสินค้าเกษตรเหล่านี้ หากมีการปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถสร้างเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตรที่สำคัญของโลกได้อย่างแน่นนอน อย่างไรก็ดี การบริการจัดการศูนย์กระจายสินค้าจำเป็นต้องมีเครือข่ายและการบริหารงานอย่างมืออาชีพ และความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับงานโลจิสติกส์มาใช้ในกระบวนการทางธุรกิจ ด้วยการพัฒนาระบบ e-Trade Logistics เพื่อให้การดำเนินธุรกรรมที่เกี่ยวโยงในระดับเอกชนให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูล ทั้งของภาครัฐและภาคธุรกิจมาเสริมต่อให้อยู่ในโซ่อุปทานเดียวกัน โดยจะต้องมีลักษณะเป็นศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าในลักษณะที่เป็นสาธารณะ ซึ่งภาครัฐอาจจะมีการประมูลเพื่อให้เอกชนเข้าบริหารตามสถานที่ที่เป็นชุมทางขนส่งของภูมิภาค หรือตามประตูเชื่อมโยงขนส่ง (Corridor Link) สู่ประเทศเพื่อนบ้าน เช่น จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งจะเชื่อมโยงไปสู่ทางหมายเลข 9 หรือ ที่ท่าเรือเชียงแสนและอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ซึ่งจะเป็นประตูในการกระจายสินค้าผ่านเส้นทาง R3E ไปสู่ประเทศจีนตอนใต้ รวมทั้ง การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าที่อำเภอแม่สอดในการที่จะรวบรวมและกระจายไปสู่ประเทศพม่า ฯลฯ โดยทั่วไปแล้วศูนย์กระจายสินค้าภายในประเทศควรจะตั้งอยู่ตามเส้นทางขนส่งหลัก โดยมีระยะห่างจากศูนย์กลางแหล่งผลิตเป็นระยะทาง 400-500 กิโลเมตร เช่น ทางภาคเหนือ อาจมีที่จังหวัดพิษณุโลก, ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็อาจเป็นที่จังหวัดขอนแก่น หรือทางภาคใต้ ก็อาจเป็นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นต้น ซึ่งทำเลที่ตั้งควรจะสามารถเชื่อมโยงกับเส้นทางรถไฟ หรือเชื่อมโยงกับการขนส่งทางแม่น้ำหรือท่าเรือชายฝั่ง เนื่องจากศูนย์กระจายสินค้าจะมีความสัมพันธ์กับการขนส่งที่เรียกว่า Multimodal Transport ซึ่งก็คือการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ที่ต้องมีการเปลี่ยนประเภทพาหนะขนส่ง บริหารสินค้าคงคลัง ข้อมูล ผลิตภัณฑ์ การไหลของเงินทุน ทุนดำเนินงานตลอดทั่วทั้งระบบ