การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี สุรศักดิ์ นาคสวัสดิ์ สำนักนายทะเบียนและกฎหมาย
ภาพรวมการชำระบัญชีสหกรณ์ หลักการชำระบัญชี เหตุของการชำระบัญชี ผู้ชำระบัญชี ข้อปฏิบัติการชำระบัญชี ที่สุดแห่งการชำระบัญชี
ความหมายของการชำระบัญชีสหกรณ์ คือ การดำเนินการของผู้ชำระบัญชีในการชำระสะสางกิจการของสหกรณ์ที่เลิกแล้ว ให้เสร็จสิ้นด้วยการรวบรวมทรัพย์สินชำระหนี้ คืนส่วนของสมาชิก และให้องค์กรอื่นตามลำดับ
วัตถุประสงค์ของการชำระบัญชีสหกรณ์ 1. เพื่อให้การจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของสหกรณ์เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้อง เป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย 2. เพื่อให้ความเป็นนิติบุคคลสิ้นสภาพไปโดยสมบูรณ์ ตามกฎหมาย
กระบวนการก่อนดำเนินการชำระบัญชี เลิกสหกรณ์แล้ว ตั้งผู้ชำระบัญชีสหกรณ์
การเลิกสหกรณ์ 1. เลิกโดยผลตามกฎหมาย กำหนดในข้อบังคับ สมาชิกเหลือน้อยกว่า 10 คน ศาลมีคำสั่งล้มละลาย 2. เลิกโดยความสมัครใจ ที่ประชุมใหญ่มีมติ 2/3 3. เลิกโดยคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ มีเหตุตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 71(1) หรือ (2) หรือ (3) 4. สถานภาพสหกรณ์ให้พึงถือว่ายังคงดำรงอยู่
การตั้งผู้ชำระบัญชีสหกรณ์ 1. ตั้งโดยที่ประชุมใหญ่เลือก และนายทะเบียนสหกรณ์เห็นชอบ 2. ตั้งโดยนายทะเบียนสหกรณ์ ที่ประชุมใหญ่ไม่เลือก นายทะเบียนสหกรณ์ไม่เห็นชอบ นายทะเบียนสหกรณ์เห็นสมควรเปลี่ยน สมาชิกไม่น้อยกว่า 2/3 ร้องขอ
ผลของการตั้งผู้ชำระบัญชีสหกรณ์ นายทะเบียนสหกรณ์ต้องจดทะเบียนไว้ นายทะเบียนสหกรณ์ต้องปิดประกาศ นายทะเบียนสหกรณ์อาจกำหนด ค่าตอบแทน ผู้ชำระบัญชีเป็นผู้แทนสหกรณ์
ภารกิจผู้ชำระบัญชี ชำระสะสางกิจการ จัดการชำระหนี้ จำหน่ายทรัพย์สิน
ความรับผิดของผู้ชำระบัญชี ความรับผิดทางอาญา ความรับผิดทางแพ่ง ความรับผิดฐานะเป็นลูกหนี้
อำนาจหน้าที่ผู้ชำระบัญชี 1. ดำเนินกิจการเท่าที่จำเป็น 2. เรียกประชุมใหญ่ 3. ดำเนินคดี 4. จำหน่ายทรัพย์สิน 5. เรียกชำระค่าหุ้น 6. ร้องขอให้ล้มละลาย 7. ดำเนินการอื่น
ข้อปฏิบัติของผู้ชำระบัญชี 1. รับมอบทรัพย์สิน 2. โฆษณาและแจ้งเจ้าหนี้ 3. จัดทำงบดุล 4. ชำระหนี้ 5. รายงานระหว่างชำระบัญชี 6. จ่ายคืนส่วนสมาชิก 7. กรณีโอนทรัพย์สินให้ สหกรณ์อื่น สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย
รับมอบทรัพย์สิน การรักษาทรัพย์สินก่อนมอบ สิทธิการเรียกให้ส่งมอบ
โฆษณาและแจ้งเจ้าหนี้ 1. โฆษณาว่าสหกรณ์เลิก วิธีการโฆษณา ระยะเวลาออกโฆษณา 2. แจ้งเจ้าหนี้ วัตถุประสงค์ที่แจ้ง รายชื่อเจ้าหนี้
การจัดทำงบดุล 1. วัตถุประสงค์การทำงบดุล 2. กระบวนการทำงบดุล ผู้ชำระบัญชีทำ เสนอผู้สอบบัญชี เสนอที่ประชุมใหญ่ เสนอนายทะเบียนสหกรณ์ ผ่าน/ไม่ผ่าน ที่ประชุมใหญ่ 3. รูปแบบและข้อปฏิบัติการจัดทำ
การชำระหนี้ ค่าที่ต้องชำระก่อน ชำระหนี้เจ้าหนี้ทวงถาม ชำระหนี้เจ้าหนี้ไม่ทวงถาม
รายงานระหว่างการชำระบัญชี ระยะเวลาที่รายงาน เนื้อหาที่มีในรายงาน รายงานต้องเปิดเผย รายงานมีข้อบกพร่อง
จ่ายคืนส่วนสมาชิก เงื่อนไขการจ่ายคืน สามรายการที่จ่ายคืน
กรณีโอนทรัพย์สินให้ เงื่อนไขที่ต้องโอน ผู้มีสิทธิได้รับโอน ข้อปฏิบัติการโอน
ที่สุดแห่งการชำระบัญชี การชำระบัญชีเสร็จ รายงานการชำระบัญชีขั้นสุดท้าย สิ้นสุดการเป็นผู้ชำระบัญชี
..สวัสดี..