The General Systems Theory

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ระบบเทคโนโลยี Technology System
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
Information System Project Management
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
THE MANAGEMENT AND CONTROL OF QUALITY
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ระบบการผลิต ( Production System )
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การเพิ่มผลผลิต Productivity
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
บทบาทของข้อมูลการตลาด
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร Total Quality control : QCC
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การทบทวนตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ ประจำปี 2555 สสจ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ความรู้เกี่ยวกับองค์การและการจัดการ (Organization & Management)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

The General Systems Theory ทฤษฎีระบบทั่วไป The General Systems Theory

ความเป็นมาของทฤษฎี 1920 – 1940 นักวิทยาศาสตร์ตระหนักว่าความซับซ้อนของปรากฏการณ์ต่างๆ มีลักษณะที่คล้ายกันคือ ความเป็นระบบ 1956 Ludving Von Bertalanffy บิดาแห่งทฤษฎีระบบทั่วไป (General Systems Theory) เสนอมุมมองระบบแบบองค์รวม 1990 Peter M. Senge กล่าวถึงความคิดเชิงระบบ (systems thinking) ในวินัย 5 ประการ

พื้นฐานของทฤษฎีระบบทั่วไป มีโครงสร้างของระบบที่เหมือนกันในศาสตร์ต่างๆ (Isomorphic Law) ระบบมีโครงสร้างที่ซ้อนกันเป็นชั้นๆ (hierarchy) กระบวนการ (process) ความเป็นหนึ่งเดียว (wholeness of the unit) การแลกเปลี่ยนพลังงาน (exchange of energy) การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา (change with time) ระดับการเปิดตัวต่อสิ่งแวดล้อม (degree of openness)

System Theory คือ แนวความคิดการบริหารจัดการซึ่งมององค์กรเป็นแบบองค์รวม เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็นส่วนหนึ่งของระบบใหญ่ (systems) และสามารถแยกย่อยลงไปเป็นระบบย่อย (subsystems) อีกหลายระดับ ระบบย่อยนี้มีความสัมพันธ์กัน ทำงานร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายเดียวกัน

ความสัมพันธ์ระหว่างระบบย่อย (Interdependence) ระบบย่อยSub-system ความสัมพันธ์ระหว่างระบบย่อย ระบบใหญ่System ระบบย่อยSub-system ระบบย่อยSub-system ความสัมพันธ์ระหว่างระบบย่อย

ประเภทของระบบในองค์กร แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ ระบบปิด ( CLOSED SYSTEM) ระบบเปิด (OPEN SYSTEM)

ระบบปิด ( CLOSED SYSTEM) การตัดสินใจที่จะแก้ปัญหาภายในระบบตัวเอง การแก้ปัญหานั้นเป็นไปตามกฎเกณฑ์,ระเบียบขององค์กร เน้นเรื่องภายในที่เป็นคนหรือเครื่องจักรเป็นหลัก ให้ความสำคัญสภาพแวดล้อมน้อยมาก

ระบบเปิด (OPEN SYSTEM) มีลักษณะแบบชีววิทยา เป็นระบบที่เคลื่อนไหว เน้นการมีปฏิกิริยาสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายนอก คำนึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในองค์กร ระบบการทำงานมีความยืดหยุ่น พัฒนาวิธีการทำงานอย่างต่อเนื่อง

องค์ประกอบของระบบ วัตถุประสงค์ (goals) ปัจจัยนำเข้า (inputs) ประกอบไปด้วย 7 ส่วนสำคัญ คือ วัตถุประสงค์ (goals) ปัจจัยนำเข้า (inputs) กระบวนการ (processes) ผลลัพธ์ (outputs) การส่งข้อมูลป้อนกลับ (feedback) การควบคุม (control) สิ่งแวดล้อม (environments)

ภาพแสดงผังองค์ประกอบของระบบ สภาพแวดล้อม (Environment) ข้อจำกัด ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output) ทรัพยากรที่จัดหามาจาก6Ms ต้องทำอะไรกับปัจจัยนำเข้า เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เป้าหมายที่ต้องการบรรลุ การป้อนกลับ(Feedback) ข้อมูลนำกลับไปปรับปรุง

ประโยชน์ของการบริหารจัดการเชิงระบบ เป็นแนวคิดที่มององค์กรเป็นระบบ คือ ประกอบด้วยระบบย่อยหลายๆ ระบบที่ทำงานร่วมกัน และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มององค์กรเป็นพลวัต (Dynamic) คือ ระบบย่อยภายในองค์กร จะมีการเคลื่อนไหวเพื่อดำเนินกิจกรรมในหน้าที่ของตน และติดต่อประสานงานกับระบบย่อยอื่นๆ การศึกษาองค์กรจะมองในภาพรวม (wholeness) (ต่อ)

ส่วนอื่นขององค์กรด้วย การเปลี่ยนแปลงส่วนหนึ่งส่วนใด ขององค์กรจะกระทบต่อ ส่วนอื่นขององค์กรด้วย ทำให้ผู้บริหารเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับ สภาพแวดล้อมภายนอก เพื่อหาทางออกแบบองค์กรให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปตลอดเวลา เพื่อความอยู่รอดขององค์กร

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

คุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง การประเมิน การวิเคราะห์การปรับปรุง การพัฒนาและปรับปรุง คุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ประชาชนผู้รับบริการ ประชาชนผู้รับบริการ ความรับผิดชอบ ด้านการบริหาร การประเมิน การวิเคราะห์การปรับปรุง ผู้ปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ ความต้องการ ความพึงพอใจ ความจำเป็น กระบวนการ ให้บริการ บริการ ปัจจัยเข้า ผลผลิต