The General Systems Theory ทฤษฎีระบบทั่วไป The General Systems Theory
ความเป็นมาของทฤษฎี 1920 – 1940 นักวิทยาศาสตร์ตระหนักว่าความซับซ้อนของปรากฏการณ์ต่างๆ มีลักษณะที่คล้ายกันคือ ความเป็นระบบ 1956 Ludving Von Bertalanffy บิดาแห่งทฤษฎีระบบทั่วไป (General Systems Theory) เสนอมุมมองระบบแบบองค์รวม 1990 Peter M. Senge กล่าวถึงความคิดเชิงระบบ (systems thinking) ในวินัย 5 ประการ
พื้นฐานของทฤษฎีระบบทั่วไป มีโครงสร้างของระบบที่เหมือนกันในศาสตร์ต่างๆ (Isomorphic Law) ระบบมีโครงสร้างที่ซ้อนกันเป็นชั้นๆ (hierarchy) กระบวนการ (process) ความเป็นหนึ่งเดียว (wholeness of the unit) การแลกเปลี่ยนพลังงาน (exchange of energy) การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา (change with time) ระดับการเปิดตัวต่อสิ่งแวดล้อม (degree of openness)
System Theory คือ แนวความคิดการบริหารจัดการซึ่งมององค์กรเป็นแบบองค์รวม เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็นส่วนหนึ่งของระบบใหญ่ (systems) และสามารถแยกย่อยลงไปเป็นระบบย่อย (subsystems) อีกหลายระดับ ระบบย่อยนี้มีความสัมพันธ์กัน ทำงานร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายเดียวกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบย่อย (Interdependence) ระบบย่อยSub-system ความสัมพันธ์ระหว่างระบบย่อย ระบบใหญ่System ระบบย่อยSub-system ระบบย่อยSub-system ความสัมพันธ์ระหว่างระบบย่อย
ประเภทของระบบในองค์กร แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ ระบบปิด ( CLOSED SYSTEM) ระบบเปิด (OPEN SYSTEM)
ระบบปิด ( CLOSED SYSTEM) การตัดสินใจที่จะแก้ปัญหาภายในระบบตัวเอง การแก้ปัญหานั้นเป็นไปตามกฎเกณฑ์,ระเบียบขององค์กร เน้นเรื่องภายในที่เป็นคนหรือเครื่องจักรเป็นหลัก ให้ความสำคัญสภาพแวดล้อมน้อยมาก
ระบบเปิด (OPEN SYSTEM) มีลักษณะแบบชีววิทยา เป็นระบบที่เคลื่อนไหว เน้นการมีปฏิกิริยาสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมภายนอก คำนึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ ที่อยู่ภายในองค์กร ระบบการทำงานมีความยืดหยุ่น พัฒนาวิธีการทำงานอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบของระบบ วัตถุประสงค์ (goals) ปัจจัยนำเข้า (inputs) ประกอบไปด้วย 7 ส่วนสำคัญ คือ วัตถุประสงค์ (goals) ปัจจัยนำเข้า (inputs) กระบวนการ (processes) ผลลัพธ์ (outputs) การส่งข้อมูลป้อนกลับ (feedback) การควบคุม (control) สิ่งแวดล้อม (environments)
ภาพแสดงผังองค์ประกอบของระบบ สภาพแวดล้อม (Environment) ข้อจำกัด ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output) ทรัพยากรที่จัดหามาจาก6Ms ต้องทำอะไรกับปัจจัยนำเข้า เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เป้าหมายที่ต้องการบรรลุ การป้อนกลับ(Feedback) ข้อมูลนำกลับไปปรับปรุง
ประโยชน์ของการบริหารจัดการเชิงระบบ เป็นแนวคิดที่มององค์กรเป็นระบบ คือ ประกอบด้วยระบบย่อยหลายๆ ระบบที่ทำงานร่วมกัน และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มององค์กรเป็นพลวัต (Dynamic) คือ ระบบย่อยภายในองค์กร จะมีการเคลื่อนไหวเพื่อดำเนินกิจกรรมในหน้าที่ของตน และติดต่อประสานงานกับระบบย่อยอื่นๆ การศึกษาองค์กรจะมองในภาพรวม (wholeness) (ต่อ)
ส่วนอื่นขององค์กรด้วย การเปลี่ยนแปลงส่วนหนึ่งส่วนใด ขององค์กรจะกระทบต่อ ส่วนอื่นขององค์กรด้วย ทำให้ผู้บริหารเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับ สภาพแวดล้อมภายนอก เพื่อหาทางออกแบบองค์กรให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปตลอดเวลา เพื่อความอยู่รอดขององค์กร
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
คุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง การประเมิน การวิเคราะห์การปรับปรุง การพัฒนาและปรับปรุง คุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ประชาชนผู้รับบริการ ประชาชนผู้รับบริการ ความรับผิดชอบ ด้านการบริหาร การประเมิน การวิเคราะห์การปรับปรุง ผู้ปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ ความต้องการ ความพึงพอใจ ความจำเป็น กระบวนการ ให้บริการ บริการ ปัจจัยเข้า ผลผลิต