รายวิชา จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

103 หมู่ 2 ตำบลคลองโยง อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
การค้ามนุษย์.
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
Pattern of injury in child fatalities resulting from child abuse
ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน
การวิจัยธุรกิจ (Business Research) การวิจัยธุรกิจ กระบวนการที่ดำเนินอย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์ กระบวนการที่ดำเนินอย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและดำเนินงานกับข้อมูล.
การให้คำปรึกษาเพื่อนที่มีความเสี่ยงที่จะมีเพศสัมพันธ์
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
รายวิชา จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม
รายวิชา จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
ปัญหาเด็กไทย 1. เร่ร่อน/ ถูกทอดทิ้ง 6. เสพบุหรี่ สุรายาเสพติด
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
( Organization Behaviors )
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
(Individual and Organizational)
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การค้ามนุษย์.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
สื่อกับ การรับรู้ของเด็ก
บทที่ 4 การศึกษาตนเอง By chotika thamviset.
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
รายงาน เรื่อง ทักษะปฏิเสธทางเพศ โดย เด็กหญิง สมัชญา ใจรักษา เลขที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต.
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิเคราะห์Psychoanalysis
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
สื่อโทรทัศน์กับ การรับรู้ของเด็ก
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
บทที่ 16 ครอบครัว.
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง ค่านิยมที่ดีและเหมาะสม ของเพื่อนสนิท.
 ผู้ฟังในกลุ่มมีจำนวนทั้งสิ้นเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลเพศหญิงหรือเพศ ชาย วัยใด ในสัดส่วนเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลที่มาจากกลุ่ม สังคมหรือกลุ่มอาชีพประเภทใด.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายวิชา 0502 310 จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม รายวิชา 0502 310 จิตวิทยาความรุนแรงและความก้าวร้าวในสังคม

เอกสารประกอบการสอน Baumeister, R.F. & Bushman, B.J. (2008). Social Psychology and Human Nature. Belmont, CA: Thomson Wadsworth. Hasselt, V. B.V. & Hersen, M. (2000). Aggression and Violence: an Introductory Text. Boston, MA: Allyn and Bacon.

Myers, D.G. (2008). Social Psychology. New York, NY: McGraw-Hill.

ทฤษฎีเกี่ยวกับความก้าวร้าว ทฤษฎีทางระบบประสาท ทฤษฎีสัญชาตญาณ ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีพฤติกรรมพุทธิปัญญา สมมุติฐานความสัมพันธ์ระหว่างความคับข้องใจกับความก้าวร้าว

สาเหตุภายนอกของความก้าวร้าว การมีอาวุธ – เพิ่มความก้าวร้าว สื่อ – ทำให้คนมีแนวโน้มที่จะก่ออาชญากรรม และทำทารุณกรรมคู่สมรสและบุคคลอื่น สภาพแวดล้อมที่ไม่พึงประสงค์ – อากาศร้อนอบอ้าว เพิ่มพฤติกรรมก้าวร้าว สารเคมี – ฮอร์โมน สารเคมีภายนอก

อิทธิพลของสารเคมี เทสโทสเทอโรน (Testosterone) – ฮอร์โมนเพศชาย ลดลงเมื่ออายุ 23-25 ปี คนที่ทานยาที่ไปลดระดับเทสโทสเทอโรนมีแนวโน้มแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวลดลง หลังจากให้คนถืออาวุธปืน คนนั้นมีระดับเทสโทสเทอโรนสูงขึ้น

เซโรโทนิน (Serotonin) หรือ feel good neurotransmitter – มีน้อยจะมีพฤติกรรมก้าวร้าวและรุนแรงมาก แอลกอฮอล์ และ ยาเสพติด

แอลกอฮอล์ (Alcohol) สัมพันธ์กับความรุนแรงในครอบครัว 65% ของอาชญากรรม และ 55% ของการทะเลาะและการทำร้ายในครอบครัว ผู้กระทำผิด และ/หรือเหยื่อ ดื่มสุรา

ในปี 1997 ชายสองคนจาก Long Island ได้ดื่มสุราทั้งวันจนเมามาย 5 ทุ่ม ชายคนหนึ่งเข้าบาร์ แต่ถูกปฏิเสธ ชายคนนี้เดินกลับมาที่เพื่อนซึ่งหลับอยู่ ชายคนนี้เตะ และเหยียบที่คอของเพื่อน หยิบไม้ตีเบสบอลไปทำร้ายชายคนอื่น และหยิบมีดเข้าไปในปั๊มน้ำมัน

อะไรเป็นสาเหตุ และอะไรเป็นผล? ผู้กระทำผิดอาจจะดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อจะได้โทษว่าทำผิดเพราะเมา!!!

จากการทดลองหลายชิ้น พบว่า แอลกอฮอล์เพิ่มพฤติกรรมก้าวร้าว John Keegan (1993) นักประวัติศาสตร์ด้านการทหาร – หลายประเทศให้ทหารของตนดื่มเครื่องดื่มมึนเมาก่อนที่จะออกรบ เพื่อลดความกลัว และเพิ่มความก้าวร้าว

คำถาม – อะไรเป็นสาเหตุให้แอลกอฮอล์เพิ่มระดับความก้าวร้าว คำถาม – อะไรเป็นสาเหตุให้แอลกอฮอล์เพิ่มระดับความก้าวร้าว? เพราะความก้าวร้าวอยู่ในแอลกอฮอล์? มีหลายกรณีที่คนดื่มสุราเพื่อการสังสรรค์ และไม่ได้ก่อให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าวและรุนแรง

พฤติกรรมก้าวร้าวมากขึ้น ปัจจัยต่างๆ ต่อพฤติกรรมก้าวร้าวและรุนแรง เช่น สื่อ ความคับข้องใจ การถูกกระตุ้นให้เกิดความก้าวร้าว การดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมก้าวร้าวมากขึ้น

แอลกอฮอล์ลดความยับยั้งชั่งใจในการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว แอลกอฮอล์ทำให้ความสนใจแคบลง – สนใจแต่สิ่งที่สำคัญเท่านั้น เช่น สิ่งที่มากระตุ้นให้โกรธ

แอลกอฮอล์เพิ่มความก้าวร้าวในขณะที่ลดระดับการคำนึงเกี่ยวกับตนเอง (Self-awareness) แอลกอฮอล์รบกวนความสามารถในการคิด

แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างแอลกอฮอล์ ยาเสพติดและความก้าวร้าว เกิดจากสถานการณ์ที่เป็นตัวแปรที่สามให้บุคคลติดยาเสพติดและมีพฤติกรรมความรุนแรง

วัฒนธรรมย่อย – โดยเฉพาะวัฒนธรรมของคนที่มีฐานะทางสังคม-เศรษฐกิจต่ำ, กลุ่มผู้ชาย, และคนที่ชอบทำกิจกรรมอันตราย เมื่อกลุ่มคนจากวัฒนธรรมย่อยเหล่านี้พยายามอยู่ร่วมในวัฒนธรรมที่เป็นปทัสถานของสังคม – อาจจะเกิดความขัดแย้ง

เช่น เมื่อให้เด็กที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำทำตามเด็กที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมปานกลาง – เด็กจะเกิดปัญหา คนที่ปรับตัวไม่ได้ – มีแนวโน้มที่จะเกาะกลุ่มเพื่อต่อต้านสังคม และมีพฤติกรรมที่เหลวไหล เช่น ติดยาเสพติด ก่ออาชญากรรม และมีพฤติกรรมรุนแรง

จากข้อมูลของศูนย์สำรวจวัยรุ่นแห่งชาติ ในประเทศสหรัฐฯ ที่ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่า 1,700 คน (อายุ 11-17 ปี) พบว่า การใช้ยาเสพติดและพฤติกรรมเหลวไหลมีความสัมพันธ์กัน นั่นคือ...

การใช้ยาเสพติดในแต่ละปีทำนายพฤติกรรมเหลวไหลในปีนั้นๆ และในปีถัดไป และ พฤติกรรมเหลวไหลสามารถทำนายการใช้ยาเสพติดในปีนั้น และในปีถัดไป

นอกจากนี้ ยังพบว่า การใช้ยาเสพติดและพฤติกรรมเหลวไหลมีความสัมพันธ์ทางลบกับความสัมพันธ์ของกลุ่มวัยรุ่นกับครอบครัว, โรงเรียน, การมีความหวังในชีวิต – แต่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการมีความสัมพันธ์กับกลุ่มเพื่อน

ความต้องการเงินซื้อยาเสพติด จากการสำรวจที่สหรัฐอเมริกา พบว่า 1ใน 4 ของผู้ต้องขัง ปล้น ขโมย เพื่อต้องการเงินไปซื้อยาเสพติด

วัฒนธรรมย่อยของกลุ่มผู้ขายยาเสพติด – มักจะใช้ความรุนแรงในการทำธุรกิจ