การเลือกตั้ง (Election)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ
Advertisements

การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ข้อเสนอว่าด้วย ระบบเลือกตั้งและสถาบันการเมือง
ประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
หลักการและเหตุผล ชุมชนท้องถิ่นเป็นสังคมฐานราก ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ การพัฒนาประเทศที่ผ่านมา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลให้ชุมชนท้องถิ่นอ่อนแอ.
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย นางสาวโสภา กาฬภักดี.
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) รศ. น. ท. ดร
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
Local Autonomy ความเป็นอิสระของท้องถิ่น Autonomy Auto-Nomas.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
1. Legal Status 2. Area and Level องค์ประกอบการปกครองท้องถิ่น
ความหมาย การมีส่วนร่วมทางการเมือง
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระชนมายุ ครบ 84 พรรษา 2. เพื่อยกระดับการศึกษาของผู้นำชุมชนให้มีความรู้ ระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป.
การบริหารงานบุคคล กับคุณธรรมและจริยธรรม ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Preparation for Democratic Citizen
การบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งกับการเมืองท้องถิ่น
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 66 บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม.
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
ความยุติธรรมทางสังคม
สังคม โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มคน จำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน กลุ่มคน หมายถึง.
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
โครงการ นิสิตอาสาให้ความรู้การเลือกตั้ง กกต.
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
สู่การเดินหน้าปฏิรูป วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557 ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล
การบริหารราชการแผ่นดิน
การประชุมซักซ้อมการปฏิบัติงาน การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส. ก
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
ห้วงเวลาดำเนินการเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับตำบล และระดับจังหวัด 18 ก. พ. – 31 มี. ค. 55 รับลงทะเบียน กศน./ พช. 1 มิ. ย. 55 ประกาศรายชื่อสมาชิกฯ.
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลือกตั้ง (Election) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การเลือกตั้ง (Election) อาจารย์สุมาลี มีจั่น วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

การเลือกตั้ง (Election) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การเลือกตั้ง (Election) “กระบวนการตัดสินใจเลือก ที่ประชาชนทำการลงคะแนน เลือก (vote) ผู้สมัครหรือพรรคการเมืองที่ตนพึงพอใจ เพื่อ เป็นตัวแทนในการปกครอง อันเป็นกลไกสำคัญที่เป็นทางการ อย่างหนึ่งในระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ อันมีผลสำคัญ ต่อทั้งในทางนิติบัญญัติ บริหาร หรือบางครั้งรวมไปถึง ทางด้านตุลาการ ”

การเลือกตั้ง (Election) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การเลือกตั้ง (Election) กระบวนการทางประชาธิปไตยแบบทางอ้อม (indirect democracy) ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้เลือกตัวแทนของตน เข้ามาดำรงตำแหน่งต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะหมายถึง ตำแหน่ง ทางการเมือง

การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (Vote) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (Vote) การแสดงออกถึงเจตจำนงของประชาชน

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง วิธีการเลือกตั้ง โดยตรง โดยอ้อม

บัตรเลือกตั้ง (Ballot) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง บัตรเลือกตั้ง (Ballot)

คูหาเลือกตั้ง (polling place) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง คูหาเลือกตั้ง (polling place)

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง หีบบัตร (ballot box)

เครื่องลงคะแนน (Ballot Machine) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง เครื่องลงคะแนน (Ballot Machine) A ballot machine with names of candidates from the 1956 Wisconsin election

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง รูปแบบการลงคะแนน

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง รูปแบบการลงคะแนน

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง รูปแบบการลงคะแนน

การเลือกตั้งระดับต่างๆ ในประเทศไทย การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การเลือกตั้งระดับต่างๆ ในประเทศไทย หมู่บ้าน การเลือกผู้ใหญ่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน สมาชิกสภาท้องถิ่น ตำบล กำนัน ผู้บริหารท้องถิ่น

การเลือกตั้งระดับต่างๆ ในประเทศไทย การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การเลือกตั้งระดับต่างๆ ในประเทศไทย อำเภอ สมาชิกสภาเทศบาล สมาชิกสภาเมืองพัทยา จังหวัด สมาชิกสภา ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สมาชิก อบจ.

การเลือกตั้งระดับต่างๆ ในประเทศไทย ชาติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา

สิทธิเลือกตั้ง (Suffrage) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง สิทธิเลือกตั้ง (Suffrage) สิทธิที่รัฐให้แก่กลุ่มบุคคลตามที่กำหนดไว้อย่างชัดแจ้ง เพื่อให้มี ส่วนร่วมทางการเมืองในการเลือกบุคคลหรือตัดสินแก้ปัญหาที่ มอบให้

แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้ง การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้ง 1 คุณสมบัติพื้นฐานของพลเมือง (attribute of citizenship) 2 ถือเป็นอภิสิทธิ์ตามสถานภาพทางสังคม (privilege) 3 สิทธิตามธรรมชาติ (natural-rights theory) 4 จริยธรรม (ethical theory) 5 กฎหมาย (legal theory)

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง Universal suffrage สิทธิเลือกตั้งที่ไม่ถูกจำกัดด้วย 1 ชาติพันธุ์ (race) 2 เพศ (sex) 3 ความเชื่อ (belief) 4 สถานภาพทางสังคม (social status)

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง สิทธิเลือกตั้ง(Suffrage) สิทธิคัดค้าน (right of protest)

การไม่ลงคะแนน (No Vote) การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การไม่ลงคะแนน (No Vote)

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง No Vote การใช้สิทธิในการ “ไม่ประสงค์ลงคะแนน” เป็นการใช้สิทธิเลือกตั้งที่แสดงให้เห็นถึง การ ใช้อำนาจในการตัดสินใจเลือก ที่ไม่ตัดสินใจ เลือก

หลักการจัดการการเลือกตั้ง การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง หลักการจัดการการเลือกตั้ง มีอิสระ มีกำหนดเวลาที่แน่นอน มีความยุติธรรม เปิดกว้าง มีความเสมอภาค มีความสะดวก มีอิสระ มีกำหนดเวลาที่แน่นอน มีความยุติธรรม เปิดกว้าง มีความเสมอภาค มีความสะดวก

ความสำคัญของการเลือกตั้ง การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ความสำคัญของการเลือกตั้ง การเลือกผู้ปกครอง กลไกเชื่อมโยงระหว่างผู้มีอำนาจรัฐกับประชาชน การสร้างความชอบธรรมให้กับผู้ปกครอง การลดความขัดแย้ง บูรณาการทางการเมือง การแสดงออกทางการเมืองของประชาชน

การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง การซื้อขายเสียง ประชาชน ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ตัวแทนของทางราชการ

ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดในการเลือกตั้งของไทย การบรรยายวิชาสังคมกับการเมือง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดในการเลือกตั้งของไทย ปัญหาเกี่ยวกับผู้มีอำนาจฟ้องร้องคดี ปัญหาเกี่ยวกับพยานหลักฐาน