การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน
บุคลิกภาพภายใน มีความกระตือรือร้น มีความรอบรู้ มีความคิดริเริ่ม ความเชื่อมั่นในตนเอง มีความกระตือรือร้น มีความรอบรู้ มีความคิดริเริ่ม 5. มีความจริงใจ มีความจำดี มีปฏิภาณไหวพริบ มีอารมณ์ขัน
ตรงเวลา ความรู้ สติปัญญาดี คิดอย่างเป็นระบบ คุณธรรม ใฝ่รู้ บุคลิกภาพดี เป็นผู้นำ ศักยภาพในการ สร้างงานสู่สากล มีวินัย รับผิดชอบต่อตนเอง เอื้ออาทรสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น สุขภาพดี
การพัฒนาตนเอง
กระบวนการพัฒนาบุคลิกภาพ การสำรวจตนเอง การรู้จักตนเอง การปรับปรุงตนเอง การประเมินผล
ศึกษาตนเองและประเมินตนเองให้ครอบคลุมทุกๆ คุณลักษณะและคุณสมบัติ ได้แก่: การสังเกตตนเอง การให้ผู้อื่นวิพากษ์วิจารณ์ โดยต้องเปิดใจกว้างต่อความคิดเห็นของคนอื่น และการใช้แบบประเมินตนเอง การพัฒนาตนเอง
การพัฒนาตนเอง การยอมรับและตระหนักในความต้องการที่จะพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลิกภาพ โดย อ.ดร.นันทนา อุ่นเจริญ
การค้นหาแรงจูงใจในการพัฒนาตนเอง
การพัฒนาตนเอง การวางแผนพัฒนาตนเอง นำข้อบกพร่องที่ได้จากขั้นตอนที่ 1 มาตั้งเป็นเป้าหมาย ที่จะกำจัดข้อบกพร่องนั้น หรือพัฒนาข้อบกพร่องนั้น ให้เป็นจุดเด่น 2. เรียงลำดับความสำคัญและความจำเป็นของข้อบกพร่อง ที่ต้องการแก้ไข การพัฒนาตนเอง
การพัฒนาตนเอง 3. ดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องตามลำดับที่วางไว้ 4. จดบันทึกรายละเอียดในการดำเนินการและผลลัพธ์ที่ได้ ตลอดจนความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคที่พบ 5. รับฟังความคิดเห็น และคำวิพากษ์วิจารณ์จากคนอื่น การพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลิกภาพ โดย อ.ดร.นันทนา อุ่นเจริญ
การสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง ทำความเข้าใจตนเอง: วิเคราะห์ตนเอง หาจุดเด่น จุดด้อยของตนเอง พัฒนาจุดเด่นของตนเองให้ดีขึ้นเรื่อยๆ และพัฒนาจุดด้อยให้กลายเป็นจุดเด่น รู้จักพึ่งตนเอง กำจัดความกลัว ทำทุกอย่างเต็มความสามรถ การสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
การสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง คิดในทางบวกกับสิ่งที่ทำ ยอมรับในความสามารถของตนเอง อย่าเล็งผลเลิศในการทำงานจนเกินไป อย่าถือคติว่าการทำงานสิ่งใดเมื่อทำแล้วต้องดีที่สุด อย่านำความเก่งของผู้อื่นมาทับถมตนเอง หมั่นฝึกจิตใจตนเองให้ชนะความกลัวให้ได้ การสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
การสร้างความคิดสร้างสรรค์
การสร้างความคิดสร้างสรรค์ “เพื่อการแก้ไขปัญหา สร้างสิ่งใหม่ ก้าวไกลเกินฝัน” โดยกระบวนการพัฒนา จิตเหนือสำนึก การพัฒนาของ มนุษย์นั้น จะต้องพัฒนา 3 ด้าน คือ ร่างกาย , จิตวิญญาณ และสมอง การพัฒนาสมองโดยการฝึกให้คิด แบบสร้างสรรค์ เป็นการพัฒนาที่ง่าย และมี พลังอย่างยิ่งในการที่จะนำความสำเร็จมาสู่ผู้ที่สามารถพัฒนาได้ กระบวนการฝึกการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ประกอบด้วยการฝึก ดังต่อไปนี้ การสร้างความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาบุคลิกภาพ โดย อ.ดร.นันทนา อุ่นเจริญ
การสร้างความคิดสร้างสรรค์ 1. การใช้สมองซึกขวาเชื่อมโยงกับสมองซีกซ้าย 2. การฝึกการคิดนอกกรอบ 3. การฝึกการคิดทางบวก 4. การฝึกการคิดแบบริเริ่ม คล่องตัว ยืดหยุ่น และละเอียดลออ ฯลฯ การสร้างความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาบุคลิกภาพ โดย อ.ดร.นันทนา อุ่นเจริญ
การบริหารอารมณ์ ลดความเครียด ปล่อยวาง สร้างอารมณ์ให้เบิกบาน
การบริหารอารมณ์ รู้จักควบคุมอารมณ์ ไม่ปล่อยอารมณ์ไปตามใจตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์ ไม่ปล่อยอารมณ์ไปตามใจตนเอง คนที่ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้จะได้เปรียบและจะเอาชนะเหตุการณ์ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ ในการปฏิบัติงานเป็นเรื่องธรรมดาที่จะต้องมี เหตุการณ์มากระทบกระเทือนอารมณ์กันอยู่เสมอ ฉะนั้น บุคคลใดที่ต้องการจะพัฒนาบุคลิกภาพของตน ให้ดีขึ้น จะต้องเป็นคนรู้จักอดทนใจเย็นเมื่อมีเหตุการณ์ ที่ไม่ถูกใจเกิดขึ้น การบริหารอารมณ์
การปรับปรุงบุคลิกภาพภายใน 1. ฝึกให้รักตนเองตามสภาพที่เป็นอยู่ 2. ฝึกการเอาชนะตนเอง 3. ฝึกความอดทน อดกลั้น และเข้าใจ ผู้อื่น 4. ฝึกการจัดการกับความโกรธและ ความเกลียด
5. ฝึกให้เป็นคนอารมณ์ดีและเบิกบาน 6. ฝึกให้เป็นผู้มีใจสงบ 7. ฝึกการเปลี่ยนตนเองดีกว่าเปลี่ยน คนอื่น 8. ฝึกการตั้งเป้าหมายในชีวิต 9. ฝึกการคิดอย่างมีเหตุผล 10.ฝึกเป็นคนตรงต่อเวลา
11. ฝึกเป็นคนที่คล่องแคล่วว่องไว 12. พัฒนาความมั่นใจในตนเอง 13. ฝึกมิให้เป็นคนแสดงตัวมากเกินไป 14. ฝึกมิให้เป็นคนเก็บตัวมากเกินไป 15. ฝึกให้เป็นคนที่ใช้อำนาจเหนือผู้อื่น น้อยลง 16. ฝึกพฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสม
17. ฝึกการเปลี่ยนความอยากได้ให้เป็น ความต้องการ 18. ฝึกการให้ในสิ่งที่ผู้อื่นต้องการ 19. ฝึกการให้ความรักแก่ผู้อื่น 20. ฝึกการให้อภัยแก่ผู้อื่น 21. ฝึกการสร้างความประทับใจให้ เกิดขึ้นแก่ทุกคน
เก่ง ดี มีสุข