วิทยาศาสตร์การคิด วิทยาศาสตร์การคิด KTA Model บทที่ ๑ วิทยาศาสตร์การคิด KTA Model ไม่สงวนสิทธิ สมบัติ บุญญาวานิชย์ sombatai@hotmail.com
การคิดเชิงยุทธศาสตร์ ความจริงของความหมายในการวางแผนกลยุทธ์ วิทยาศาสตร์การคิด KTA Model การคิดเชิงยุทธศาสตร์ ความจริงของความหมายในการวางแผนกลยุทธ์ คิดให้ได้อย่างที่ฝัน เขียนให้ได้อย่างที่คิด พูดให้ได้อย่างที่เขียน ทำให้ได้อย่างที่พูด KTA Model ไม่สงวนสิทธิ สมบัติ บุญญาวานิชย์ sombatai@hotmail.com
หลักการพื้นฐานการคิดเชิงยุทธศาสตร์ ในเกมสร้างรายได้จากมูลค่าทางการค้า มีระบบ (SYSTEM) มีความต่อเนืองในกิจกรรม (PRACTICE) อยู่เสมอ มีความคิดสร้างสรรค์แบบไม่มีขีดจำกัด (UNLIMITED THOUGHT) มีความสามารถในการปรับในรายละเอียด (INFLECTED) องค์กรต้องมีความเป็นอัจฉริยะ (GENIUS) หรือความโดดเด่นในธุรกิจที่สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า และผู้มีส่วนได้เสีย คำถาม : องค์กรจะมีคุณสมบัติดั่งกล่าวได้อย่างไร KTA Model ไม่สงวนสิทธิ สมบัติ บุญญาวานิชย์
ไม่สงวนสิทธิ สมบัติ บุญญาวานิชย์ วิทยาศาสตร์การคิด วิทยาศาสตร์ : ความรู้ที่เกิดจากการสังเกตผลของการทดลอง มีโครงสร้าง มีระบบ สามารถวิเคราะห์สืบหาสาเหตุ และพิสูจน์วิจัยได้ เป็นสากลเพื่อเข้าใจธรรมชาติ ไม่ขึ้นกับวัฒนธรรมท้องถิ่น เทคโนโลยี : การประยุกต์วิทยาศาสตร์หลายสาขาเพื่อนำผลไปใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพ ความเหมาะสมในการใช้ขึ้นอยู่กับพื้นที่ และปัจจัยแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ภูมิปัญญา : ความรู้ที่สามารถใช้ในการดำเนินชีวิตสัมพันธ์กับวัฒนธรรม ที่ถูกสะสมมาจากประสบการณ์อันยาวนาน เพื่ออยู่กับสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นแบบยั่งยืน เป็นความรู้ที่ใช้ประโยชน์ได้ดี วิทยาศาสตร์การคิด : เป็นการคิดแบบมีโครงสร้าง มีระบบ สามารถวิเคราะห์สืบหาสาเหตุ พิสูจน์ วิจัยได้ เป็นสากล เพื่อเข้าใจธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สร้างความสามารถในการคาดหมายในอนาคตด้วยเหตุผล KTA Model ไม่สงวนสิทธิ สมบัติ บุญญาวานิชย์
วงจรทดสอบการคิดที่เป็นวิทยาศาสตร์ ทฤษฏี ข้อสรุปทางความคิด ตั้งสมมุติฐานที่จะนำไปปฏิบัติ สมมุติฐาน คาดการณ์แผนงานที่แก้ปัญหา ให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ดีขึ้น ข้อสรุป ผลลัพธ์เป็นไปตามทฤษฏี ผลลัพธ์ ประเมินผลที่ได้จากการทดสอบ การทดสอบ เพื่อพิสูจน์ข้อสมมุติฐาน KTA Model ไม่สงวนสิทธิ สมบัติ บุญญาวานิชย์
กระบวนการแก้ปัญหาให้บรรลุวัตถุประสงค์ ทิศทางการเปลี่ยนแปลง ด้านลบ(อดีต) ปัจจุบัน ด้านบวก(อนาคต) เข้าใจข้อมูล ความสามารถในการคาดการณ์ ปัญหา วัตถุประสงค์ KPI ช่องว่างของปัญหา ทิศทางการเปลี่ยนแปลง สาเหตุ แผนงาน ความคิดสร้างสรรค์ KTA Model ไม่สงวนสิทธิ สมบัติ บุญญาวานิชย์