การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

การปฏิบัติราชการของจังหวัด
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
บก.วน. ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2551 รวม 4 มิติ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
กำหนดการ : วันที่ 1 ของการอบรม
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการประหยัด พลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรการประเมินองค์กรด้วยตนเองสำหรับคณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

แผนการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบการบริหารจัดการภาครัฐ วางหลักเกณฑ์รางวัล “คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ” (Public Sector Management Quality Award - PMQA) จัดวางระบบการดำเนินงาน และการสร้างความพร้อม ให้ส่วนราชการต่าง ๆ การสร้างความรู้ความเข้าใจ การเตรียมความพร้อมให้ ส่วนราชการต่างๆ โดยการสร้างผู้ตรวจประเมินภายใน และวิทยากรตัวคูณ สร้างกลไกภายในสำนักงาน ก.พ.ร. สนับสนุนให้ส่วนราชการ นำไปปฏิบัติ สนับสนุน ส่งเสริม ส่วนราชการให้ยกระดับการปฏิบัติงานเพื่อขอสมัครเข้ารับรางวัล เตรียมการวางระบบผู้ตรวจประเมินรางวัล เพื่อตรวจประเมิน ตัดสินให้รางวัล ส่งเสริมให้มีหน่วยงานต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

การดำเนินการตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 การดำเนินการตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 50) ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) คุณภาพการให้บริการ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การบริหารจัดการองค์กร การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล

มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล: การบริหารจัดการองค์กร ตัวชี้วัดที่ 14 (จังหวัด) ตัวชี้วัดที่ 18 (ส่วนราชการ) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามขั้นตอน การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนัก จังหวัด : ร้อยละ 4 ส่วนราชการ : ร้อยละ 3

รายละเอียดการดำเนินการ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน รายละเอียดการดำเนินการ ระดับ 1 จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐแก่เจ้าหน้าที่ของส่วนราชการ / จังหวัด / มหาวิทยาลัย ระดับ 2 จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐของส่วนราชการ / จังหวัด / มหาวิทยาลัย จัดทำแผนดำเนินการพร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละ หมวด (Category Champion) ตามเกณฑ์คุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ขออนุมัติแผนดำเนินการต่อผู้บังคับบัญชา ระดับ 3 จัดอบรมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการประเมิน องค์กรด้วยตนเอง ระดับ 4 ความครบถ้วนของการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร ระดับ 5 ความครบถ้วนในการจัดทำเอกสารรายงานผลการ ดำเนินการเบื้องต้น

ขอบเขตการดำเนินการตามตัวชี้วัด ระดับกรม ให้ดำเนินการทุกหน่วยงานรวมถึง หน่วยงานที่เป็นราชการส่วนกลาง ที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาคด้วย ระดับจังหวัด ให้เลือกดำเนินการอย่างน้อย 1 อำเภอ โดยหน่วยงานที่นำมาดำเนินการให้หมายถึง ส่วนราชการประจำอำเภอเท่านั้นแต่อาจนำ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาร่วมดำเนินการด้วยได้

ส่วนราชการประจำอำเภอ สนง. สัสดีอำเภอ ที่ทำการปกครองอำเภอ สนง. พัฒนาชุมชน อำเภอ สนง.สาธารณสุข อำเภอ สนง. เกษตรอำเภอ สนง. ประมงอำเภอ สนง. ที่ดินอำเภอ สนง. ปศุสัตว์อำเภอ ส่วนราชการอื่นๆ ที่ตั้งอยู่ในอำเภอ สำนักพระพุทธศาสนา วัฒนธรรม ท้องถิ่น ป่าไม้ การศึกษานอกโรงเรียน โรงพยาบาล - ตำรวจภูธร - หมวดการทาง สรรพากร การป้องกันและรักษาป่า ฯลฯ

จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ระดับคะแนน 1 จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ กรม / จังหวัด ต้องมีการประชุมเพื่อชี้แจงให้ความรู้แก่ข้าราชการในสังกัด โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร สำหรับระดับจังหวัดนอกจากจะให้ความรู้แก่ข้าราชการในส่วนราชการประจำอำเภอแล้ว อาจให้หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัด หรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการประชุมดังกล่าวด้วย จัดประชุมชี้แจงอย่างน้อย 1 ครั้ง 3 ชั่วโมง

จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการและจัดทำแผนดำเนินการ พร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบ ระดับคะแนน 2 จัดตั้งคณะทำงานดำเนินการและจัดทำแผนดำเนินการ พร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบ คณะทำงานดำเนินการควรประกอบด้วย 2 คณะ คือ 1. คณะกรรมการติดตามและกำกับดูแลการดำเนินการฯ (Steering Committee) 2. คณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Working Team)

แนวทางการจัดตั้ง Steering Committee ระดับกรม ผู้บริหารสูงสุด อธิบดี / เลขาธิการ (CEO) ประธาน ผู้บริหารระดับรอง (รองอธิบดี /รองเลขาธิการ) ผู้บริหารระดับรอง (ผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง) ผู้บริหารระดับรอง รองอธิบดี/รองเลขาธิการ (CCO) เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (เลขานุการ) รองประธาน หน้าที่ : สนับสนุน Working Team ในการดำเนินการ จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร

แนวทางการจัดตั้ง Working Team ระดับกรม รองประธาน Steering Committee (รองอธิบดี/รองเลขาธิการ) ทำหน้าที่ประธาน Working Team Category Champion 1..2..3..4..5..6 Members เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (เลขานุการ) เลขานุการ หน้าที่ : จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรพร้อมกับประเมินองค์กรด้วยตนเอง และจัดทำรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้นของส่วนราชการ

แนวทางการจัดตั้ง Steering Committee ระดับจังหวัด ผู้บริหารสูงสุด (ผู้ว่าราชการจังหวัด CEO) ประธาน ผู้บริหารระดับรอง (รองผู้ว่าราชการจังหวัด) หัวหน้าสำนักงานจังหวัด ผู้บริหารระดับรอง รองผู้ว่าราชการจังหวัด (CCO) นายอำเภอ (เลขานุการ) รองประธาน หน้าที่ : สนับสนุน Working Team ในการดำเนินการ จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร

แนวทางการจัดตั้ง Working Team ระดับจังหวัด รองประธาน Steering Committee (รองผู้ว่าราชการจังหวัด) ทำหน้าที่ประธาน Working Team นายอำเภอ ทำหน้าที่รองประธาน Working Team หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ Category Champion 1..2..3..4..5..6 เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (เลขานุการ) Members เลขานุการ หน้าที่ : จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรพร้อมกับประเมินองค์กรด้วยตนเอง และจัดทำรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้นของส่วนราชการ

แผนดำเนินการ อย่างน้อยประกอบด้วย 1. กิจกรรมสำคัญที่ต้องดำเนินการ 2. ระยะเวลาในการดำเนินการ 3. ผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม

แผนดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวอย่าง

ระดับคะแนน 3 อบรมคณะทำงาน ส่วนราชการ / จังหวัด คัดเลือกตัวแทนจากคณะทำงาน จำนวน 6 คน (ตัวแทนหมวดละ 1 คน) เข้ารับการอบรมตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. จัด ทีมที่เข้ารับการอบรมนำความรู้ไปถ่ายทอดให้คณะทำงานของตน

จำนวนผู้ผ่าน การอบรม 6 5 4 3 1 - 2 คะแนนที่ได้ 0.75 0.6 0.5 0.4 0.25 การพิจารณาการให้คะแนนในระดับขั้นตอนนี้แบ่งออก 2 ส่วน ส่วนที่ 1 พิจารณาจากจำนวนผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม ( 0.75 คะแนน) ผู้ที่มีเวลาเข้ารับการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่าผ่านการอบรม จำนวนผู้ผ่าน การอบรม 6 5 4 3 1 - 2 คะแนนที่ได้ 0.75 0.6 0.5 0.4 0.25 ส่วนที่ 2 พิจารณาจากการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมไปถ่ายทอด (0.25 คะแนน)

ความครบถ้วนของการจัดทำ ลักษณะสำคัญขององค์กร ระดับคะแนน 4 ความครบถ้วนของการจัดทำ ลักษณะสำคัญขององค์กร อธิบายลักษณะองค์กรและความท้าทายต่อองค์กร ตอบคำถามตาม Template รวม 15 ข้อ

แนวทางการตอบคำถาม คำถามที่มีเครื่องหมาย # ต้องตอบโดยมีข้อมูลสารสนเทศในเรื่องนั้น ๆ คำถามที่ไม่มีเครื่องหมาย # เรื่องใดยังไม่ได้ดำเนินการ ให้ตอบ ยังไม่ทราบมาก่อนว่าจะต้องดำเนินการในเรื่องนี้ ในขั้นต่อไปจะดำเนินการโดย ................... ทราบว่าต้องดำเนินการ ทราบวิธีการ แต่ยังไม่ได้มีการดำเนินการใด ๆ ในขณะนี้ เพราะ ....................... ในขั้นต่อไปจะดำเนินการโดย .................... ทราบว่าต้องดำเนินการ แต่ไม่ทราบวิธีการมาก่อน ในขั้นต่อไปจะได้นำเทคนิคทางการบริหารหรือดำเนินการโดย …… คำถามที่ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ให้ตอบ “ส่วนราชการมีลักษณะงานไม่เกี่ยวข้องกับคำถามในข้อนี้”

คะแนนที่ได้รับพิจารณาจากจำนวนข้อ ที่ส่วนราชการตอบ จำนวนข้อที่ตอบ คำถาม 3 6 9 12 15 คะแนนที่ได้รับ 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0

ความครบถ้วนของการจัดทำเอกสาร รายงานผลการดำเนินงานเบื้องต้น ระดับคะแนน 5 ความครบถ้วนของการจัดทำเอกสาร รายงานผลการดำเนินงานเบื้องต้น อธิบายและตอบคำถามตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด รวม 90 ข้อ แนวทางการตอบคำถาม เช่นเดียวกับระดับ 4

คะแนนที่ได้รับพิจารณาจากจำนวนข้อที่ ส่วนราชการตอบคำถาม จำนวนข้อที่ตอบคำถาม 30 45 60 75 90 คะแนนที่ได้รับ 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0

รายงานผลการประเมิน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ ระดับขั้นตอนการดำเนินการ คะแนนที่ได้รับ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 คะแนนรวม