การผลิตและต้นทุนการผลิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

Grade A Garment This template can be used as a starter file for a photo album.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
ค่าของทุน The Cost of Capital
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Lecture 8.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
Location Problem.
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การบริโภค การออม และการลงทุน
พฤติกรรมผู้บริโภค.
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
การศึกษาความเป็นไปได้ FEASIBILITY STUDY
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานขาย
ต้นทุนการผลิต.
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผลิตและต้นทุนการผลิต

การผลิต (Production) กระบวนการรวบรวมเอาปัจจัยการผลิต ซึ่งได้แก่ ที่ดิน แรงงาน ทุน วัตถุดิบ และเทคโนโลยีต่างๆ มาผลิตเป็นสินค้าและบริการ กระบวนการในการผลิต  วิธีการผลิต ผลผลิตจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยการผลิต

ฟังค์ชั่นการผลิต (Production Function) QA = f (X1, X2, X3,…, Xn) TP = f (X1, X2, X3,…, Xn) เมื่อ QA คือ ปริมาณผลผลิต A TP คือ จำนวนผลผลิตรวม (Total Product) X1, X2, X3,…, Xn คือ ปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ

การผลิตสินค้าใดๆ จะมีวิธีการผลิตได้มากกว่า 1 วิธี ประสิทธิภาพในการผลิตสูงสุด

ประสิทธิภาพในการผลิต วิธีการผลิตที่ได้ผลผลิตสูงสุด จากปัจจัยการผลิตที่มีอยู่อย่างจำกัด เสียต้นทุนการผลิตน้อยที่สุด

ระยะเวลาการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์ การผลิตในระยะสั้น (Short Run) การผลิตในระยะยาว (Long Run)

ระยะเวลาการผลิตที่มีการใช้ปัจจัยการผลิตทั้งปัจจัยคงที่และปัจจัยแปรผัน การผลิตในระยะสั้น (Short Run) ระยะเวลาการผลิตซึ่งนานเพียงพอที่ผู้ผลิตจะเปลี่ยนแปลงปัจจัยการผลิตทุกชนิดให้มีจำนวนตามต้องการได้ การผลิตในระยะยาว (Long Run) มีเพียงปัจจัยแปรผัน

ปัจจัยแปรผัน (Variable Factors) ปัจจัยการผลิตที่สามารถเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามปริมาณการผลิตได้ ซึ่งถ้าผลิตมากก็ใช้มาก ผลิตน้อยก็ใช้น้อย เช่น วัตถุดิบ แรงงาน เป็นต้น ปัจจัยคงที่ (Fixed Factors) ปัจจัยการผลิตที่ไม่สามารถเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามปริมาณการผลิตได้ เช่น ที่ดิน โรงงาน เครื่องมือเครื่องจักร เป็นต้น

ผลผลิตรวม (Total Product : TP) การผลิตในระยะสั้น ผลผลิตรวม (Total Product : TP) : ผลผลิตทั้งหมดที่ได้จากการผลิตโดยใช้ปัจจัยการผลิตจำนวนหนึ่ง TP = f (X1, X2, X3,…, Xn) = QA TP = f (แรงงาน , ที่ดิน) ; (ที่ดินเป็นปัจจัยคงที่) TP = f (แรงงาน ) TP = f (ปัจจัยแปรผัน)

ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product : AP) : จำนวนผลผลิตทั้งหมดคิดเฉลี่ยต่อจำนวน ปัจจัยแปรผัน 1 หน่วย TP = f (ปัจจัยแปรผัน) AP = TP จำนวนปัจจัยแปรผัน

 TP  จำนวนปัจจัยแปรผัน ผลผลิตส่วนเพิ่ม หรือ ผลผลิตหน่วยสุดท้าย (Marginal Product : MP) : ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นเมื่อใช้ปัจจัยแปรผันเพิ่มขึ้น หนึ่งหน่วย MP =  TP  จำนวนปัจจัยแปรผัน

- 1 1 2 3 4 *** 2.5 1.8 2.1 2.8 MP AP 14 8 15 7 6 5 12 9 ผลผลิตรวม (TP) แรงงาน (คน) ที่ดิน (ไร่)

TPn = MP1 + MP2 + MP3 + … + MPn

TP ผลผลิต จำนวนแรงงาน 2 12 10 8 6 4 16 14 5 7 1 3 -2 AP MP

MP = 0 ; TP สูงสุด MP < 0 TP ลดลง Q L 2 12 10 8 6 4 16 14 5 7 1 3 TP -2 MP MP = 0 ; TP สูงสุด MP เพิ่มขึ้น TP เพิ่ม ในอัตราที่เพิ่มขึ้น MP ลดลง TP เพิ่ม ในอัตราที่ลดลง MP < 0 TP ลดลง

กฎการลดน้อยถอยลงของการผลิต (Law of Diminishing Marginal Returns) : ในการผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ถ้าผู้ผลิต เพิ่มการใช้ปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งไปเรื่อยๆ ทีละหน่วย ในขณะที่ปัจจัยอื่นๆ คงที่ ปรากฎว่า ผลผลิตส่วนเพิ่ม (MP) ที่ได้รับจะมีจำนวนลดลงเรื่อยๆ

ความสัมพันธ์ระหว่าง AP กับ MP Q L 2 4 5 6 7 8 1 3 -2 MP AP ความสัมพันธ์ระหว่าง AP กับ MP AP จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ MP > AP AP จะลดลงเรื่อยๆ เมื่อ MP < AP AP จะมีค่าสูงสุด เมื่อ MP = AP

การแบ่งช่วงการผลิต I II III ผลผลิต จำนวนแรงงาน 2 12 10 8 6 4 16 14 5 7 1 3 -2 AP MP TP การแบ่งช่วงการผลิต I II III

การผลิตในระยะยาว กฎของผลได้ต่อการขยายขนาดการผลิต (Law of Returns to Scale) : ในการผลิตสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ถ้าผู้ผลิตเพิ่มปัจจัยการผลิตทุกชนิดในสัดส่วนเดียวกันแล้ว ในระยะแรกผลได้จะเพิ่มขึ้น ในระยะที่สอง ผลได้จะคงที่ และในระยะที่สามผลได้จะลดลง

“การประหยัดต่อการขยายขนาดการผลิต” ( Economies of Scale) 1. ระยะผลได้เพิ่มขึ้น (Increasing Return to Scale) เมื่อขยายการผลิต ผลผลิตรวมจะเพิ่มขึ้นใน สัดส่วนที่มากกว่าสัดส่วนการเพิ่มของปัจจัย การผลิต “การประหยัดต่อการขยายขนาดการผลิต” ( Economies of Scale) การประหยัดภายในกิจการ (Internal Economies) การประหยัดภายนอกกิจการ(External Economies)

Economies of Scale 1. การประหยัดทางด้านแรงงาน 2. การประหยัดทางด้านเทคนิคการผลิต 3. การประหยัดทางด้านการจัดการ 4. การประหยัดทางด้านการจัดซื้อวัตถุดิบ ต้นทุนต่อหน่วยสินค้าลดลง

2. ระยะผลได้คงที่ (Constant Return to Scale) เมื่อขยายการผลิต ผลผลิตรวมที่ได้รับจะเพิ่มขึ้นในสัดส่วนเดียวกับการเพิ่มของปัจจัยการผลิต

“การไม่ประหยัดต่อการขยายขนาดการผลิต” (Diseconomies of Scale) 3. ระยะผลได้ลดลง (Decreasing Return to Scale) เมื่อขยายการผลิต ผลผลิตรวมจะเพิ่มขึ้นใน สัดส่วนที่น้อยกว่าสัดส่วนการเพิ่มของปัจจัย การผลิต “การไม่ประหยัดต่อการขยายขนาดการผลิต” (Diseconomies of Scale) การไม่ประหยัดภายในกิจการ (Internal Diseconomies) การไม่ประหยัดภายนอกกิจการ(External Diseconomies)

เพิ่ม ทุนและแรงงานเท่ากัน 50% QA = f(ทุน , แรงงาน) เพิ่ม ทุนและแรงงานเท่ากัน 50% 100 10 20 QA แรงงาน ทุน QA เพิ่มขึ้น 80% Increasing Return to Scale 180 15 30 QA เพิ่มขึ้น 50% Constant Return to Scale 150 15 30 QA เพิ่มขึ้น 20% Decreasing Return to Scale 120 15 30