ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit Cost) ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายจริงทั้งเป็น ตัวเงินหรือสิ่งของ ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost)
ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง / ต้นทุนแอบแฝง (Implicit Cost) ต้นทุนที่ไม่ได้จ่ายออกไปจริงๆ แต่ได้ประเมินขึ้นเป็นต้นทุนซึ่งอยู่ในรูปของ “ต้นทุนค่าเสียโอกาส” ของปัจจัยการผลิตที่นำมาผลิตสินค้า
ต้นทุนทางบัญชี = ต้นทุนชัดแจ้ง ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ = ต้นทุนชัดแจ้ง + ต้นทุนแอบแฝง
ต้นทุนของเอกชน หรือ ต้นทุนภายใน (Private Cost or Internal Cost) ต้นทุนทุกชนิดที่ผู้ผลิตใช้จ่ายในการผลิตสินค้า และบริการ ทั้งที่จ่ายจริงและไม่ได้จ่ายจริง ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนของสังคม (Social Cost) ต้นทุนทุกชนิดที่เกิดจากการผลิตสินค้าและบริการ ชนิดใดชนิดหนึ่งที่สังคมต้องรับภาระ Social Cost = Private Cost + External Cost ต้นทุนที่บุคคลอื่นที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าและบริการนั้นต้องภาระ ต้นทุนภายนอก (External Cost)
ต้นทุนการผลิตน้ำตาลจากอ้อย โรงงานน้ำตาล - 20 ต้นทุนภายนอก 60 70 ต้นทุนของสังคม 50 ต้นทุนเอกชน เครื่องบำบัดน้ำเสีย ต้นทุนการผลิตน้ำตาลจากอ้อย มี ไม่มี
ต้นทุนระยะสั้น (Short Run Cost) ต้นทุนคงที่รวม (Total Fixed Cost : TFC) ต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ต้นทุนแปรผันรวม (Total Variable Cost : TVC) ต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ต้นทุนรวม (Total Cost : TC) TC = TVC + TFC TC = f ( Q )
ต้นทุนรวมเฉลี่ย (Average Total Cost : AC) ต้นทุนรวมคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย AC = TC Q [ TC = f ( Q ) ] = TFC + TVC TFC TVC + = AFC + AVC = AFC + AVC
ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost : AFC) ต้นทุนคงที่รวมคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย AFC = TFC Q ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย (Average Variable Cost : AVC) ต้นทุนแปรผันรวมคิดเฉลี่ยต่อผลผลิต 1 หน่วย AVC = TVC
ต้นทุนส่วนเพิ่ม หรือ ต้นทุนหน่วยสุดท้าย (Marginal Cost : MC) ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย TC = f ( Q ) MC = TC Q
MC = TC Q (TFC + TVC) = TFC + TVC 0 ; TFC คงที่ TVC
11 10 13 14 17 20 25 33 50 100 - 47 46 45 57 69 92 150 36 40 31 30 32 42 59 75 48 38 23 19 24 34 425 500 366 318 280 250 227 208 184 AC AVC AFC MC TC 325 9 400 266 8 218 7 180 6 5 127 4 108 3 84 2 1 TVC TFC Q
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) 100 TFC TVC TC = TC = TVC + TFC
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) MC
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) AFC = TFC Q AFC
ต้นทุน (บาท) MC จุดต่ำสุดของ AC AC AVC จุดต่ำสุดของ AVC ผลผลิต (หน่วย) MC AVC AC AFC จุดต่ำสุดของ AC จุดต่ำสุดของ AVC
ความสัมพันธ์ระหว่าง MC และ AVC (AC) บาท Q MC AVC AC ความสัมพันธ์ระหว่าง MC และ AVC (AC) ถ้า MC อยู่ต่ำกว่า AVC (AC) ค่า AVC (AC) จะลดลง เมื่อปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น ถ้า MC อยู่เหนือ AVC (AC) ค่า AVC (AC) จะเพิ่มขึ้น เมื่อปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น MC = AVC (AC) เมื่อ AVC (AC) มีค่าต่ำสุด
ต้นทุนระยะยาว (Long Run Cost) ต้นทุนรวมในระยะยาว (Long Run Total Cost : LTC) ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้าซึ่งจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ถ้าไม่ผลิต : ต้นทุนเป็น “ศูนย์”
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) LTC
ต้นทุนเฉลี่ยในระยะยาว (Long Run Average Cost : LAC) ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นในการผลิตระยะยาว คิดเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของผลผลิต LAC = LTC Q
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) LAC SAC1 SAC3 SAC2 X1 X2 X3
ต้นทุนส่วนเพิ่มในระยะยาว (Long Run Marginal Cost : LMC) ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย LMC = LTC Q
ต้นทุน (บาท) ผลผลิต (หน่วย) LMC LAC จุดต่ำสุดของ LAC
รายรับจากการขาย (Revenue)
รายรับจากการขายหรือรายรับจากการผลิต รายได้ที่ผู้ผลิตได้รับจากการขายผลผลิตของตนตามราคาตลาด
รายรับรวม (Total Revenue : TR) รายรับทั้งหมดที่ผู้ขายได้รับจากการขายสินค้าตามราคาที่กำหนด TR = f (Q) = P x Q เมื่อ P คือ ราคาต่อหน่วย Q คือ ปริมาณขาย
รายรับเฉลี่ย (Average Revenue : AR) รายรับรวมเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า AR = TR Q = P x Q P
รายรับหน่วยสุดท้าย หรือ รายรับส่วนเพิ่ม (Marginal Revenue : MR) รายรับรวมที่เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MR = TR Q
- 2 2 4 6 8 10 5 7 9 28 30 24 18 MR AR TR 3 1 ปริมาณ (Q) ราคา (P)
เส้นอุปสงค์ TR AR = P AR MR รายรับ (บาท) Q (หน่วย) 5 1 10 15 20 25 30 5 1 10 15 20 25 30 2 3 4 6 7 - 5 TR AR MR เส้นอุปสงค์ AR = P
ความสัมพันธ์ระหว่าง TR, AR และ MR ในช่วงที่ MR > 0 TR จะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณขายเพิ่มขึ้น ในช่วงที่ MR = 0 TR จะมีค่าสูงสุด MR และ AR จะมีค่าที่ลดลงเรื่อยๆ เมื่อปริมาณขายเพิ่มขึ้น แต่ MR จะมีค่าที่น้อยกว่า AR เสมอ
ดุลยภาพของผู้ผลิต
เป้าหมายของผู้ผลิต กำไรสูงสุด ดุลยภาพของผู้ผลิต
กำไร (Profit) กำไร = TR – TC กำไรทางเศรษฐศาสตร์ = TR – ต้นทุนชัดแจ้ง – ต้นทุนแอบแฝง
กำไรแท้จริง หรือกำไรทางเศรษฐศาสตร์ ถ้า TR = TC กำไร = “ศูนย์” กำไรปกติ (Normal Profit) ถ้า TR > TC กำไร > “ศูนย์” กำไรแท้จริง หรือกำไรทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Profit) ถ้า TR < TC กำไร < “ศูนย์” ขาดทุน หรือกำไรที่ ต่ำกว่ากำไรปกติ (Economic Loss)
นางสาวแดงเป็นพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ซึ่งได้รับเงินเดือนคิดแล้วได้ปีละ 50,000 บาท ต่อมาแดงลาออกแล้วมาเปิดร้านอาหาร โดยเอาตึกแถวที่ ตนเองเคยให้คนอื่นเช่าปีละ 20,000 บาท มาเป็นร้านอาหาร ในปีนั้น แดงได้รายได้ทั้งหมด 500,000 บาท แต่ต้องเสียค่าจ้างพนักงานเสริฟ และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ เป็นจำนวน 350,000 บาท และ 50,000 บาท ตามลำดับ นางสาวแดงได้รับกำไรประเภทใดในทางเศรษฐศาสตร์
กำไร - เงินค่าเช่า - เงินเดือนที่ควรได้ หัก ต้นทุนแอบแฝง - อุปกรณ์ 30,000 100,000 กำไร 20,000 - - เงินค่าเช่า 50,000 - เงินเดือนที่ควรได้ หัก ต้นทุนแอบแฝง - อุปกรณ์ 350,000 - ค่าจ้าง หัก ต้นทุนชัดแจ้ง 500,000 รายได้ เศรษฐศาสตร์ บัญชี รายการ
สมมติ ผู้ผลิตรายหนึ่งพบว่าสินค้าของเขาสามารถขายได้ในราคาชิ้นละ 70 บาท และมีต้นทุนการผลิต ดังตาราง เงื่อนไขการเกิดกำไรสูงสุด
112 90 70 54 43 33 25 18 14 19 29 45 - 188 230 250 234 207 170 125 73 17 - 34 - 75 - 100 840 770 700 630 560 490 420 350 280 210 140 MC MR Profit TR 652 12 540 11 450 10 380 9 326 8 283 7 6 225 5 4 193 3 174 2 145 1 100 TC Q
บาท ปริมาณ (Q) TC TR a b กำไรรวมสูงสุด 10
บาท ปริมาณ (Q) MC MR 10 70
บาท ปริมาณ (Q) TC Q TR กำไรรวมสูงสุด
บาท ปริมาณ (Q) MC MR Q