ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 4. ความรับผิดในการเสียภาษี ภาษีขาย - ภาษีซื้อ 5 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 4. ความรับผิดในการเสียภาษี ภาษีขาย - ภาษีซื้อ 5. การคำนวณภาษี ภาษีซื้อต้องห้าม 6. กิจกรรมของผู้เสียภาษี 7. บทลงโทษ
1.“คำนิยาม” ขายพร้อมขนส่ง ขายพร้อมติดตั้ง ขาย ขายเป็นปกติธุระ รับจ้างเป็นครั้งคราว (ม.77/1(8)) ไม่ถือเป็นการขาย นำเข้าเพื่อขาย (ม.77/1(12)) ส่งออกเพื่อขาย(ม.77/1(14))
1.“คำนิยาม” (ต่อ) สินค้า (ม.77/1(9)) บริการ (ม.77/1(10))
2.“ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม” 1. ผู้ประกอบการ 2. ผู้นำเข้า 3. ผู้ที่กฎหมายกำหนดเป็นกรณีพิเศษ
2.“ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม”(ต่อ) ผู้ประกอบการ: 1. เป็นบุคคล 2. ขายสินค้า/บริการในทางธุรกิจ 3. ในราชอาณาจักร
3.“การยกเว้น” 1. การขายสินค้า/บริการ ที่มิใช่การส่งออก (ม.81(1)) 1.1 ม.81(1)(ก)-(ฉ) ยกเว้นแต่ขอเข้าระบบได้ 1.2 ม.81(1)(ช)-(น) การขายสินค้า/บริการตามที่กำหนด โดยพระราชกฤษฎีกา 2. การนำเข้าสินค้า 2.1 สินค้าตามม.81(1)(ก)-(น) 2.2 สินค้าจากต่างประเทศที่นำเข้าไปในเขตปลอดอากร
3.“การยกเว้น”(ต่อ) ทั้งนี้เฉพาะสินค้าที่ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น 2.3 สินค้าที่จำแนกไว้ในภาค 4 ของพรบ.พิกัดอัตรา ศุลกากร 2.4 สินค้าที่นำเข้าและอยู่ในอารักขาของศุลกากร แล้วส่งกลับ โดยได้รับคืนอากร 2.5 การนำเข้าสินค้าของสถานศึกษาของรัฐหรือเอกชนตาม กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
3.“การยกเว้น”(ต่อ) 3. ผู้ประกอบการซึ่งมีมูลค่าของฐานภาษีไม่เกินมูลค่าของฐานภาษีของกิจการขนาดย่อม (1,800,000 บาท/ปี) หรือกิจการอื่น เช่น กิจการขนส่งทางอากาศภายในประเทศ
4. “ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในกรณีขายสินค้า” 1. กรณีขายสินค้าทั่วไป หลัก = เมื่อส่งมอบสินค้า ยกเว้น = ก. โอนกรรมสิทธิสินค้า ข. ได้รับชำระราคาสินค้า หรือ ค. ได้ออกใบกำกับภาษี 2. กรณีขายสินค้าตามสัญญาให้เช่าซื้อหรือสัญญาซื้อขายผ่อนชำระ หลัก = เมื่อถึงกำหนดชำระราคาตามงวด ยกเว้น = ก. ได้รับชำระราคาสินค้า หรือ ข. ได้ออกใบกำกับภาษี
4.“ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในกรณีให้บริการ”(ต่อ) 1. กรณีให้บริการทั่วไป หลัก = เมื่อได้รับชำระราคาค่าบริการ ยกเว้น = ก. ได้ออกใบกำกับภาษี ข. ได้ใช้บริการไม่ว่าโดยตนเองหรือบุคคลอื่น 2. กรณีให้บริการตามสัญญาที่กำหนดค่าตอบแทนตามส่วนของบริการที่ทำ หลัก = เมื่อได้รับชำระราคาค่าบริการตามส่วนบริการที่ สิ้นสุดลง
5.“การคำนวณภาษี” (1) ภาษีขาย – ภาษีซื้อ ม.82/3 (2) ภาษีซื้อต้องห้าม ม.82/5 (3) ประกอบกิจการทั้ง VAT และ NON VAT ม.82/6 ให้เฉลี่ยภาษีซื้อตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 29)ฯ
5.“การคำนวณภาษี” (ต่อ) เรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้าหรือ ภาษีขาย = ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียน เรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้าหรือ ผู้รับบริการ เมื่อขายสินค้าหรือรับชำระ ค่าบริการ ภาษีซื้อ = ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียน ได้จ่ายให้ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการที่เป็น ผู้ประกอบการจดทะเบียน เมื่อซื้อสินค้าหรือ ชำระค่าบริการเพื่อใช้ในการประกอบกิจการ ของตน
5.“การคำนวณภาษี” (ต่อ) ภาษีซื้อในกรณีดังต่อไปนี้ไม่ให้นำมาหักในการคำนวณภาษี (1) กรณีไม่มีใบกำกับภาษี หรือไม่อาจแสดงใบกำกับภาษี เว้นแต่ กรณีมีเหตุอันสมควร (ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด) (2) กรณีใบกำกับภาษีมีข้อความไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ใน สาระสำคัญ
5.“การคำนวณภาษี” (ต่อ) (3) ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการ (ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด) (4) ภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อการรับรองฯ (5) ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีซึ่งออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออก (6) ภาษีซื้อตามที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี - ประกาศอธิบดี เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 17)ฯ - ประกาศอธิบดี เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 42)ฯ
5.“การคำนวณภาษี”(ต่อ) อัตราภาษี : 1. อัตราร้อยละ 10 (ปัจจุบัน ร้อยละ 7) 2. อัตราร้อยละ 0
6. “กิจกรรมของผู้เสียภาษี” 1. การจดทะเบียน 2. การออกใบกำกับภาษี 3. การยื่นแบบฯ และชำระภาษี 4. กำหนดเวลายื่นแบบฯ 5. การจัดทำรายงาน 6. การจัดเก็บเอกสาร
7. “บทลงโทษ” เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม โทษทางอาญา