ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dr.Smira Chittaladakorn
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
งานวิจัยที่ดี.
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัย : ข้อเสนอโครงการวิจัย RESEARCH METHODOLOGY
เทคนิคเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
โดย เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การเขียนโครงการ.
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
ชื่อหัวข้อโครงงาน (ภาษาไทย) Project Title (English)
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเลือกหัวข้อโครงงาน.
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
คำอธิบายรายวิชา.
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเขียนรายงาน.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01134491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด 01134491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด Basic Research Methods in Marketing เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 3 : 20-มิ.ย.-54

การกำหนดยุทธวิธีการวิจัย Research Design 1) การพิจารณาตัวแปรการวิจัย 1.1) การกำหนดตัวแปรต้องการศึกษา ตัวแปรอิสระ (X) และตัวแปรตาม (Y) 1.2) การพิจารณาตัวแปรแทรกซ้อน - ความแตกต่างภูมิหลัง - การพัฒนา/เปลี่ยนแปลง - สิ่งอื่น วิธีอื่นและสถานที่อื่นที่ส่งผลถึงตัวแปร 2) การกำหนดแหล่งข้อมูล 2.1) ใคร/อะไรเป็นกลุ่มตัวอย่าง 2.2) ต้องใช้กี่กลุ่ม มี Control group หรือไม่ 2.3) ควรมีจำนวนเท่าไร ใช้วิธีเลือกแบบใดที่จะเป็นตัวแทน

การกำหนดยุทธวิธีการวิจัย Research Design 3) การกำหนดวิธีรวบรวมข้อมูลการวิจัย 3.1) การดำเนินการสำรวจ/การทดลองอย่างไร 3.2) การใช้เทคนิค เครื่องมืออะไร –กี่ชนิด กี่อย่าง 3.3) การสร้างอย่างไร รวบรวมมากน้อยเพียงใด 3.4) การตรวจสอบคุณภาพอะไร โดยวิธีการใด - ใช้ Expert judgment - ใช้ try-out

การกำหนดยุทธวิธีการวิจัย Research Design 4) การดำเนินการรวบรวมข้อมูล 4.1) ใครดำเนินการ โดยวิธีการใด 4.2) รวบรวมกี่ครั้ง ระยะเวลาใด 4.3) จะได้รับความร่วมมือหรือไม่ วางแผนแก้ปัญหาอย่างไร 4.4) รวบรวมข้อมูลอย่างไร จึงถูกคน ถูกที่ ถูกเวลา และถูก สถานการณ์

การกำหนดยุทธวิธีการวิจัย Research Design 5) การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย 5.1) การมาตรวัดตัวแปร : 4 ระดับ - Nominal Scale /Categorical Scale - Ordinal Scale - Interval Scale - Ratio Scale 5.2) การเลือกใช้เทคนิคการวิเคราะห์ : ค่าเฉลี่ย : สัดส่วน 5.3) การต้องตอบวัตถุประสงค์วิจัย 5.4) การตอบต้องหาลักษณะหรือค่าใดจากข้อมูล

หลักการเขียนข้อเสนอและรายงานวิจัย 1. ความชัดเจน (Clarity) : การเขียนต้องแจ่มชัด ไม่คลุมเครือ กำกวม สามารถอธิบายแนวคิด กระบวนการเป็นตามลำดับขั้นตอน ความเหมาะสมอย่างสมเหตุสมผลและเข้าใจง่าย 2. ความกะทัดรัด (Conciseness) : การเขียนใช้ถ้อยคำที่กะทัดรัด ตรงจุด (Precise) ไม่ขยายความจนวกวน/ซ้ำซาก 3. ความสมบูรณ์ (Completeness) : เสนอสาระสำคัญของงานวิจัย อย่างครบถ้วนตั้งแต่แนวคิด เป้าหมาย วิธีการ จนถึงผล/ข้อสรุปต่างๆ 4. ความถูกต้อง (Accuracy) : การเสนออย่างตรงไปตรงมา ไม่บิด เบือนจากความเป็นจริงที่ศึกษา/ค้นพบ หลีกเลี่ยงการเสนอแนวคิด นอกเหนือขอบเขตการวิจัย ไม่ควรจะรีบด่วนสรุป (Jump Conclusion) ความซื่อตรง (Honesty) : การเสนอต้องไม่ปิดบังข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้น ไม่แก้ไข/เปลี่ยนข้อมูล ไม่เปลี่ยนแปลงสมมติฐานตามผล ไม่ลำเอียงส่วนตัวหรือลอกผลงานผู้อื่นแต่ไม่อ้างอิง

การเขียนข้อเสนอการวิจัย หัวข้อของโครงร่างวิจัย ประกอบด้วย 1. ชื่อเรื่องวิจัย (Research Topic) 2. คำสำคัญ (Key Words)* 3. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (Statement of the Problem) 4. คำถามจากการวิจัย (Research Question)* 5. วัตถุประสงค์การวิจัย (Research Objective)

หัวข้อของโครงร่างวิจัย ประกอบด้วย 6. สมมติฐานการวิจัย (Research Hypothesis) 7. ขอบเขตการวิจัย (Scope of the study) 8. ข้อจำกัดของการวิจัย (Limitation of the Study) 9. ข้อตกลงเบื้องต้น (Basic Assumption)* 10. นิยามศัพท์หรือคำจำกัดความในการวิจัย (Definition of Terms)

หัวข้อของโครงร่างวิจัย ประกอบด้วย 11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Significance of the Finding) 12. กรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Research Framework) 13. วิธีดำเนินการวิจัย (Research Methodology) 14. รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรม (Reference and Bibliography) 15. รายละเอียดงบประมาณและแผนการดำเนินงานวิจัย