ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
กิจกรรมที่ 4 ข้อมูล จุดประสงค์
บทที่ 8 การเตรียม ประมวลผลข้อมูล
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การเก็บข้อมูล (Data Collecting)
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การวางแผนและการดำเนินงาน
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงการ.
การจัดกระทำข้อมูล.
การออกแบบการวิจัย.
Menu Analyze > Correlate
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
การวิเคราะห์ข้อมูล.
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน (KPI)
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
Synthetic Analytic (การมองภาพรวม / ใหญ่ โดยเกิดจากการที่เรา (การมองภาพย่อย เกิดจากการที่เราเริ่มรู้สาเหตุ
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย

ความหมายข้อมูลและตัวแปร ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือสิ่งที่แสดงถึงสถานภาพ สถานการณ์ หรือปรากฏการณ์ โดยอาจอยู่ในรูปตัวเลขที่ประมวลผลหรือข้อความที่ใช้เนื้อหาพิจารณา ตัวแปร (Variable) คือ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต วัด สอบถามจากหน่วยที่ศึกษา ค่าของตัวแปร คือข้อมูล สาเหตุที่ข้อมูลแตกต่างกัน 1. คุณลักษณะที่แตกต่างกันของบุคคลหรือสิ่งนั้น 2. เวลาที่แตกต่างกัน 3. สถานที่แตกต่างกัน

ประเภทของข้อมูล 1. แบ่งตามแหล่งที่มา ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) -ข้อมูลใดๆ ที่เก็บจากแหล่งกำเนิด/เจ้าของข้อมูลโดยตรง ซึ่งผู้วิจัยต้องเก็บขึ้นมาใหม่เพื่อวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้นโดยเฉพาะ ไม่ใช่ เป็นการรวบรวมสถิติหรือข้อมูลที่ผู้อื่นได้ทำการเก็บรวบรวมมา ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) - ข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่แล้ว ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปข้อมูลดิบที่ผู้อื่นรวบรวมไว้แล้ว /ข้อมูลที่ผ่านกรรมวิธีทางข้อมูล (Data Processing) หรือการวิเคราะห์ (Data analysis)

- ตัวเลข/สัญลักษณ์ที่กำหนดเป็นกลุ่มมีลักษณะเป็นชื่อ (Name) 2. แบ่งตามระดับการวัด ข้อมูลระดับกลุ่ม/ประเภท (Nominal หรือ Categorical Scale) – เป็นการแบ่งกลุ่มโดยถือว่าแต่ละหน่วยมีความเสมอภาคกัน/เท่าเทียมกัน (Equivalence) - สมาชิกกลุ่มเดียวกันมีความเท่าเทียมกัน คุณสมบัติและค่าเหมือนกัน - ตัวเลข/สัญลักษณ์ที่กำหนดเป็นกลุ่มมีลักษณะเป็นชื่อ (Name) - ไม่สามารถนำมาคำนวณเชิงปริมาณ + - X / - ตัวเลข/สัญลักษณ์ที่กำหนดให้แทนกลุ่มใด จะต้องใช้ตลอดไป - ตัวเลข/สัญลักษณ์มีคุณสมบัติเชิงคุณภาพและไม่ต่อเนื่อง Ex : - เพศ : ชาย : หญิง - สถานภาพสมรส : โสด : สมรส : แยก/หย่า : หม้าย

2. แบ่งตามระดับการวัด ข้อมูลระดับอันดับ (Ordinal Scale) – เป็นข้อมูลที่แต่ละกลุ่มแสดงความแตกต่างว่า มากกว่า น้อยกว่า ดีกว่า หรือแย่กว่า แต่ไม่สามารถบอกปริมาณความแตกต่างกว่ากันเท่าไหร่ ข้อมูลระดับช่วง (Interval) - ข้อมูลในระดับนี้ในแต่ละกลุ่มจะแสดงความแตกต่างได้ และสามารถบอกปริมาณได้ว่าเท่าไหร่ ข้อมูลระดับอัตราส่วน (Ratio) - เป็นข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุด เพราะสามารถบอกความแตกต่างหรือเปรียบเทียบความแตกต่างได้ เช่น ความสูง น้ำหนัก เป็นต้น

3. แบ่งตามลักษณะของข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) - เป็นข้อมูลที่แสดงได้ว่ามีค่ามากหรือน้อย แสดงค่าเป็นตัวเลขได้ ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) - เป็นข้อมูล ที่อยู่ในรูปของข้อความ

4. แบ่งตามช่วงเวลาอ้างอิง ข้อมูลอนุกรมเวลา (Time Series Data) - ข้อมูลที่เกิดขึ้นตามคาบเวลาต่างๆ ที่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงเวลาหนึ่ง เช่น ยอดขายสินค้ารายเดือน 5 ปี ย้อนหลัง ข้อมูลภาคตัดขวาง (Cross Sectional Data) – เป็นข้อมูล ณ จุดใด จุดหนึ่งของเวลา เช่น จำนวนลูกค้า ณ วันที่ 1 มกราคม 2551

ประเภทตัวแปร ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 1. แบ่งตามอิทธิพลของตัวแปร ตัวแปรอิสระ (Independent variable) - ตัวแปรที่เกิดขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องมีตัวแปรอื่นเกิดขึ้นมาก่อน ตัวแปรตาม (Dependent variable) - ตัวแปรที่เป็นผลมาจากการเกิดขึ้นของตัวแปรอื่น

2. แบ่งตามการจัดกระทำของตัวแปร ตัวแปรจัดกระทำได้ (active variable) - ตัวแปรที่ผู้วิจัยสามารถจัดกระทำได้ Ex. วิธีการสอนวิจัย ตัวแปรจัดกระทำไม่ได้ (attribute variable) - ตัวแปรที่เป็นคุณลักษณะ/ที่มีอยู่เดิม โดยจัดกระทำไม่ได้แต่ควบคุมได้ด้วยวิธีการทางสถิติ Ex. เพศ สีผิว

X Y Z 3. แบ่งตามภาวะการแทรกซ้อนของตัวแปร ตัวแปรแทรกซ้อน (Extraneous variable)- ตัวแปรที่ผู้วิจัยไม่ต้องการศึกษา แต่มีอิทธิพลต่อตัวแปรที่วิจัย โดยผู้วิจัยทราบล่วงหน้าและพยายามควบคุม Ex. ตัวแปรที่ต้องการศึกษา X และ Y แต่ Z เป็นตัวแปรแทรกซ้อนที่ไม่ต้องการศึกษา แต่มีผลต่อ X และ Y X Y Z

3. แบ่งตามภาวะการแทรกซ้อนของตัวแปร ตัวแปรสอดแทรก (Intervening variable)- ตัวแปรที่ผู้วิจัยไม่ต้องการศึกษา แต่มีอิทธิพลต่อตัวแปรที่วิจัย โดยผู้วิจัยไม่ทราบล่วงหน้า ตัวแปรที่ต้องการศึกษา X และ Y แต่ Z เป็นตัวแปรสอดแทรก X Z Y

3. แบ่งตามภาวะการแทรกซ้อนของตัวแปร ตัวแปรกดดัน (Suppressive variable)- ตัวแปรที่ผู้วิจัยไม่ต้องการศึกษา แต่มีอิทธิพลต่อตัวแปรอิสระให้เกิดผลกับตัวแปรตามตามมา ตัวแปรที่ต้องการศึกษา X และ Y แต่ Z เป็นตัวแปรกัดดันที่มีผลต่อตัวแปร X Z X Y

4. แบ่งตามความต่อเนื่องของค่าตัวแปร ตัวแปรต่อเนื่อง (Continuous variable)- ตัวแปรที่มีค่าอย่างต่อเนื่อง เช่น ความสูง ความยาว น้ำหนัก ระยะทาง ฯลฯ ที่มีค่าทศนิยมติดต่อกัน Ex - ระยะทาง 1-2 หน่วยเป็น กม. ค่าอาจจะเกิดขึ้นได้ตั้งแต่ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 จนถึง 2.0 ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง (Discrete variable)- ตัวแปรที่มีค่าเป็น ไปได้ขาดตอน เช่น เพศ = ชาย หญิง - ค่าวัดได้ 2 ค่า Dichotomous Variable เพศ - ค่าวัดได้มากกว่า 2 ค่า Polychotomous Variable สีผิว

5. แบ่งตามการคัดเลือกตัวแปร ตัวแปรมาตรฐาน หรือตัวแปรที่ไม่มีความหมายเชิงนโยบาย เช่น คุณสมบัติทางเศรษฐกิจ สังคมและประชากร เช่น เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพหลัก อาชีพรองและระดับการศึกษา ซึ่งเป็นคุณสมบัติของบุคคลที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ตัวแปรเชิงนโยบาย เป็นตัวแปรที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยใช้มาตรการต่างๆ เช่น การมีส่วนร่วมในกิจกรรมบางประเภท การได้รับฟังข่าวสาร การใช้เวลาว่าง

ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ที่มาและเหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร รูปแบบของความสัมพันธ์ ทิศทางของความสัมพันธ์

X Y รูปแบบความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์อสมมาตร - ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวที่มีทิศทางไปในทางเดียวกันเท่านั้น (Asymmetrical relationship) X Y ความสัมพันธ์สมมาตร - ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวที่ ผู้วิจัยไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่า ตัวแปรใดเป็นตัวแปรอิสระและตัวแปรตามทราบแต่ว่าทั้ง 2 ตัวแปรมีความสัมพันธ์กัน (Symmetrical relationship)

X Y รูปแบบความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์แบบตอบโต้ - คล้ายอสมมาตร โดยความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวมีผลต่อกัน แต่ไม่มีตัวใดเป็นอิสระตลอดไป (Interactive relationship) X Y ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง - อาจจะเป็นอสมมาตร สมมาตรหรือตอบโต้ แต่รูปแบบการเปลี่ยนค่าของตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ มีลักษณะเส้นตรง (Linear relationship)

รูปแบบความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์เชิงเส้นโค้ง - อาจจะเป็นอสมมาตร สมมาตร ตอบโต้แต่รูปแบบการเปลี่ยนค่าของตัวแปรหนึ่งเปลี่ยนไป ค่าของตัวแปรตามจะเปลี่ยนแปลงตามไปในรูปแบบหนึ่ง แต่ไม่ตลอดเส้นความสัมพันธ์ (Curvilinear relationship) ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล - ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว ตัวแปรหนึ่งเป็นอิสระเป็นสาเหตุการเปลี่ยนแปลงตัวแปรตาม (Causal relationship)

รูปแบบความสัมพันธ์ ทิศทางความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ที่ไม่ใช่เชิงเหตุและผล - ความสัมพันธ์ ระหว่าง ตัวแปร 2 ตัว แต่ระบุไม่ได้ว่าเป็นเพราะอะไร แต่รู้ว่าสัมพันธ์กัน (Non-causal relationship) ทิศทางความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์เชิงบวก (Positive relationship) ความสัมพันธ์เชิงลบ (Negative relationship)