การนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้ ขั้นตอน เข้าใน ftp://210.246.188.9 ใส่ชื่อ : ftpuser ใส่ Password : @obec1 เลือก file ชื่อ data50.zip ใน folder ของแต่ละ สพท.
สร้าง Folder ใน Drive C
การจัดระบบฐานข้อมูลของ data center จาก http://info.bopp.go.th/obec50 ระดับ ส.พ.ฐ. ระดับ เขตพื้นที่ ระดับ โรงเรียน
ข้อมูลที่ต้องตรวจสอบพิเศษ จำนวนนักเรียน จำแนกตามชั้นและเพศ จำนวนครู จำนวนเด็กพิการเรียนร่วม จำนวนเด็กด้อยโอกาส น้ำหนักส่วนสูงของนักเรียน ความขาดแคลนเครื่องแบบ เครื่องเขียน
ขั้นตอนการใช้งาน OBEC50 ให้ Download โปรแกรม OBEC50 Setup โปรแกรม OBEC50 เลือก สพท.ให้เรียบร้อย ออกจากโปรแกรม OBEC50 นำข้อมูล data50.zip ไปวางไว้ที่ C:\OBEC50\Backup Run โปรแกรม OBEC50 Restore
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ GIS : OBEC
อัตราส่วนครู : นักเรียน นนทบุรี เขต 2
สพท.สตูล จำแนกตามขนาดโรงเรียน
จำแนกตามเขตตรวจราชการ
สรุปภาพรวม สพฐ. จำแนกเป็นรายจังหวัด
จำแนกตามสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล SMIS, Student’44 ข้อมูลจำนวนประชากรจากทะเบียนราษฎร์
ข้อมูลประวัตินักเรียน (SMIS)
ข้อมูลประวัตินักเรียน (SMIS)
ข้อมูลประวัตินักเรียน (SMIS)
ข้อมูลจำนวนประชากร จากทะเบียนราษฎร์ รายอายุ เพศและตำบล
ข้อมูลจำนวนประชากร จากทะเบียนราษฎร์ รายอายุ เพศและตำบล
ข้อมูลจำนวนประชากร จากทะเบียนราษฎร์ เป็นรายตำบล
ประโยชน์ที่ได้รับจากข้อมูล SMIS หาเด็กตกหล่นได้ 1. แต่ละ ร.ร.ต้องเช็คความครบถ้วนของรายการ น.ร.ให้ถูกต้อง - เลขประจำตัวประชาชน - ชื่อ-สกุล ของ น.ร. - ว/ด/ป เกิด - สัญชาติ - ความพิการ - น.น. ส่วนสูง - ประเภทความด้อยโอกาส - รหัสตำบลที่อยู่ - ชั้นเรียนปัจจุบัน - รหัสประจำบ้าน ** ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์ เป็นรายบุคคล (อายุ 3-18 ปี)
2. แก้ไขข้อมูลที่เครื่องเช็คความถูกต้องให้ - เลขบัตรประชาชนที่ซ้ำ, ติด G, เลขบัตรไม่ครบ - อายุที่ประมวลผลผิด - เช็คจำนวนเด็กมีสัญชาติ ** ในส่วนของ กพร.มีตัวชี้วัดเกี่ยวกับเด็กไร้สัญชาติ
3. จำนวนเด็กที่อยู่ในการศึกษาภาคบังคับ (ป.1-ม.3) - อายุเด็กช่วง 6-14 ปี (ว/ด/ป เกิด) - ชั้นที่เรียนอยู่ปัจจุบัน - ในปีการศึกษา 2550 นี้หน่วยงานสังกัดอื่นที่มี น.ร.ที่เรียนถึงภาคบังคับ จะทำข้อมูลรายบุคคลและส่งข้อมูลให้
4.ในแต่ละโรงเรียน มี น.ร.มาจากจังหวัดใด - เลขบัตรประชาชน - รหัสตำบล
5. เด็กจากตำบลนี้ส่วนใหญ่ไปเรียนที่ ร.ร.ใดบ้าง - รหัสตำบลที่อยู่ในทะเบียนราษฎร์ - โรงเรียนที่เรียนอยู่ - เลขบัตรประชาชน
6. เช็คยอดเด็กออกกลางคัน ในปีก่อนมีแต่ยอด น.ร.ที่ออกกลางคันประมาณ 100,000 คนเศษ เนื่องจากบาง ร.ร.ไม่ทราบว่าเด็กที่ออกระหว่างเรียนไปเรียนต่อที่อื่นหรือไม่? - เลขบัตรประชาชน - ชื่อ-สกุล - เด็กออกกลางคันของแต่ละโรงเรียน
7. นับจำนวน น.ร.เพื่อจัดสรรงบประมาณรายหัว แต่ละปีข้อมูลจำนวน และข้อมูลรายบุคคลจะต่างกันประมาณแสนคน ขณะนี้เหลืออยู่ประมาณ 20 สพท.ที่ข้อมูล น.ร.ยังไม่ตรงอีกประมาณ 100-200 คน ในเทอมต่อไป เด็กในร.ร.เหล่านี้จะไม่ได้รับการจัดสรร งบประมาณ เพราะไม่มีชื่ออยู่ในระบบ และไม่มียอดในแต่ละ ร.ร.เป็นตัวตรวจสอบ (เดิมตรวจสอบจาก OBEC49)
สิ่งที่ต้องทำในปีถัดไป SMIS, Student’44 สำมะโนประชากรวัยเรียน หาเด็กตกหล่น, ออกกลางคัน ความเคลื่อนไหวของนักเรียน