สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในเรื่อง Set
นิยาม สับเซต สับเซต (subset) หรือ “เซตย่อย” คือ เซตที่เล็กกว่าหรือเท่ากันกับเซตที่กำหนด โดยต้องใช้สมาชิกร่วมกัน การที่เซต A จะเป็นสับเซตของเซต B ได้นั้นสมาชิกทุกตัวของเซต A จะต้องเป็นสมาชิกของเซต B สัญลักษณ์สับเซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A B A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A B
ตัวอย่างสับเซต ตัวอย่างที่ 1 A = {1, 2, 3} B = { 1, 2, 3, 4, 5} ∴ A ⊂ B ตัวอย่างที่ 2 E = { 2,5,0 } F = { 2,1,0 } ∴ E F F เพราะสมาชิกบางตัวของ E ไม่ได้อยู่ใน F
ส่วนเติมเต็ม หรือ คอมพลีเมนต์ (complement) ส่วนเติมเต็ม หรือ คอมพลีเมนต์ คือแนวคิดหนึ่งที่ใช้ในการเปรียบเทียบเซต เพื่อที่จะให้ทราบว่า เมื่อเซตหนึ่งสัมพันธ์กับอีกเซตหนึ่ง มีสมาชิกใดบ้าง ที่อยู่ภายใต้เซตเพียงเซตเดียว แบ่งออกตามการใช้งานเป็น ส่วนเติมเต็มสัมบูรณ์(absolute complement) แนวคิดแรกหมายถึง ส่วนเติมเต็มที่เปรียบเทียบระหว่างเซตกับยูนิเวอร์ส ส่วนเติมเต็มสัมพัทธ์ (relative complement) ซึ่ง (universal set) เป็นส่วนเติมเต็มที่เปรียบเทียบระหว่างเซต กับเซตด้วยกัน
คอมพลีเมนต์ (Complement) คอมพลีเมนต์ของเซต A คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเอกภพสัมพัทธ์ทั้งหมด ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกของ A เขียนแทนด้วย A' เช่น ถ้าให้ U = { พ่อ, แม่, หนูหน่อย, น้อง } A = { พ่อ, น้อง } จะได้ว่า A' = { แม่, หนูหน่อย }
จัดทำโดย นางสาว ดาราวรรณ นงภา ชั้น ม จัดทำโดย นางสาว ดาราวรรณ นงภา ชั้น ม.4/5 เลขที่ 14 เสนอ คุณครู ชัยสิทธิ์ พงษ์พัฒน์