เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิชานวัตกรรมและการจัดการเทคโนโลยี
Advertisements

ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
การจัดการผลิตอย่างเป็นระบบ
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
ระบบเศรษฐกิจ.
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
การวางแผนกลยุทธ์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การเตรียมการและการกำหนดท่าทีในการเจรจาต่อรองในระดับสากล
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economics)
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
สภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมเซรามิกส์ไทย
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ประเทศไทยจะผลิตชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ที่มีคุณภาพ, มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีมูลค่าส่งออกมากกว่า 4 แสนล้านบาทต่อปี
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
Evaluation of Thailand Master Plan
App Learning to English
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
ระบบ 3.9G จัดทำโดย นางสาวพนิดาเรืองบุญญา ม.5/6 เลขที่ 2.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ความหมายของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy) ความสำคัญของวัฒนธรรมและความคิดสร้างสรรค์ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ

ข้อมูลที่น่าสนใจ มูลค่าทางเศรษฐกิจ ปี 2005 อุตสาหกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ทั่วโลกมีมูลค่าถึง 424.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยมีสัดส่วนตัวเลขจากสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน รวมกันคิดเป็น 40% ตัวเลขจีดีพีจากอุตสาหกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรรค์ของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ คิดเป็นสัดส่วนต่อจีดีพีรวมของประเทศ 11.12% และ 8.6% ตามลำดับ

ข้อมูลที่น่าสนใจ อัตราการเติบโต การจ้างงาน ระหว่างปี 2001-2005 อุตสาหกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ทั่วโลกมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยสูงกว่า 8.7% ประเทศที่พัฒนาแล้ว มีอัตราการเติบโตอยู่ระหว่าง 5-20% ต่อปี การจ้างงาน อุตสาหกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ได้สร้างให้เกิดการจ้างงานทั่วโลกมากขึ้นด้วยอัตราการเติบโตมากกว่าอุตสาหกรรมอื่นถึง 50% โดยมีสัดส่วนการจ้างงาน 5.8% ในสหรัฐอเมริกาและ9% ในอังกฤษ (ข้อมูลปี 2007)

Creative Economy ระบบเศรษฐกิจที่ประกอบด้วยผู้ประกอบการและอุตสาหกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความรู้ ทักษะ และเทคโนโลยีมาผสมผสานกับทรัพย์สินทางวัฒนธรรม เพื่อผลิตสินค้าและบริการที่สร้าง “มูลค่า” และ “คุณค่า” ซึ่งตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในตลาดโลกได้ ผลของการประสานภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์ และการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา  การให้ต้นแบบทางสุนทรียะแก่สินค้าและบริการ ถือเป็นส่วนสำคัญในการให้ความหมายเชิงศิลปะ และทรัพย์สินทางวัฒนธรรม ในปัจจุบันสินค้าและบริการเหล่านี้ ถือเป็นกุญแจสำคัญในการแข่งขันทางธุรกิจระดับนานาชาติ

อุตสาหกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ มีการเติบโตอย่างรวดเร็วเนื่องจาก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี รายได้ทั่วโลกที่เพิ่มขึ้น การเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยี ทำให้บุคคลและประเทศเล็กๆสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลก

ประเทศไทยกำลังเผชิญหน้ากับการแข่งขันจากประเทศเพื่อนบ้านอย่างเวียดนาม จีน และอินเดีย ที่ไม่เพียงแต่ผลิตสินค้าด้วยต้นทุนที่ถูกกว่าและด้วยกำลังผลิตที่มากกว่า แต่ยังมีการลงทุนในเทคโนโลยีและการศึกษาที่ดีกว่าอีกด้วย

ศตวรรษที่ 19 คือยุคทองของยุโรป อันเป็นผลมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม ศตวรรษที่ 20 คือยุคทองของสหรัฐอเมริกา ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนในศตวรรษที่ 21 นี้กำลังจะเป็นยุคทองของเอเชีย กับการสร้างประชากรรุ่นใหม่จำนวนมากเพื่อลงแข่งขันในเศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ มีการลงทุนอย่างเห็นได้ชัด ในการศึกษาสายการออกแบบและเทคนิค ประเทศจีนผลิตนักศึกษาสายการออกแบบความคิดสร้างสรรค์และวิศวกรรมจำนวนต่อปีมากกว่าสหรัฐอเมริกาถึง 8 เท่า ส่วนอินเดียก็มีจำนวนนักศึกษาที่สำเร็จด้านดังกล่าวมากกว่าสหรัฐอเมริกาถึง 5 เท่า

ประเทศไทยจะเป็นส่วนหนึ่งของอนาคตที่ท้าทายข้างหน้านี้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจ และการลงทุนของพวกเราในวันนี้

สภาพในปัจจุบัน สินค้าและบริการของประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่บนพื้นฐานของการผลิตต้นทุนต่ำ ปริมาณมาก กำไรน้อย ไม่ค่อยมีการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา รวมไปถึงการค้นคว้าทางนวัตกรรมเทคโนโลยี นอกจากนี้ การออกแบบและความคิดสร้างสรรค์ยังไม่ได้รับการตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ แต่ในสถานการณ์โลกปัจจุบัน การออกแบบและความคิดสร้างสรรค์ได้กลายเป็นหัวใจสำคัญของนโยบายทางเศรษฐกิจในหลายๆประเทศ ด้วยงานออกแบบและความคิดสร้างสรรค์สามารถนำไปปรับใช้ได้กับทุกอุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในตลาดโลก

รัฐบาลในหลายประเทศทั่วโลกจึงกำลังผลักดันการดำเนินงานด้านนี้อย่างจริงจัง ทำไมจีนต้องเปลี่ยนโรงงานเก่าให้เป็นศูนย์ความคิดสร้างสรรค์ พื้นที่ 798 นี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการจัดตั้งพื้นที่เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Industry Zone) ในเมืองปักกิ่ง รวมทั้งเมืองเซี่ยงไฮ้ เซินเจิ้น ชิงเต่า และเมืองอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่รัฐบาลกลางเป็นผู้ลงทุนทั้งหมด

เหตุที่รัฐบาลยอมทุ่มเงินมหาศาลเพื่อเปลี่ยนเมืองอุตสาหกรรมเหล่านี้ไปสู่เขตเศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ ด้วยเพราะตระหนักว่า แม้ประเทศจีนจะส่งออกรองเท้าได้ถึง 6.9 พันล้านคู่ให้กับ 200 ประเทศทั่วโลก แต่ทว่ารองเท้าที่ตีตรา ‘Made in China’ กลับไม่ได้มีมูลค่ามากนัก ซ้ำยังถูกกล่าวถึงในฐานะสินค้าราคาถูกที่เข้าไปทุ่มตลาดในประเทศต่างๆ จนถูกกีดกันจากประเทศผู้นำเข้าอีกด้วย การสร้างเศรษฐกิจบนพื้นฐานของความคิดสร้างสรรค์ หรือ Creative Economy จึงเป็นเป้าหมายสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจที่ประเทศจีนกำลังมุ่งไปสู่ในเร็ววันนี้

The Creative Industries Advertising Architecture Art & Antiques Designer fashion Video film and photography Music The visual and performing arts Publishing Software , computer games and electronic publishing Radio and TV Tourism

ทำอย่างไร หาทางปรับปรุงสินค้าให้มีคุณภาพ มีเอกลักษณ์ ใช้ทุนทางปัญญา พัฒนาทักษะของตัวเอง สินทรัพย์ทางวัฒนธรรมผสมผสานเทคโนโลยี หรือจัดการสิ่งต่างๆที่มีอยู่แล้วใหม่โดยใส่ความคิดสร้างสรรค์เข้าไป สัดส่วนในระบบเศรษฐกิจ 10% ภาคเกษตรกรรม 30-40% ภาคอุตสาหกรรมการผลิต 50% ภาคการบริการ