การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

การบริหารความสัมพันธ์และการฟื้นฟูความพอใจ จากบริการที่ผิดพลาด
SPA ไม่สบายอย่างที่คิด
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
Risk Management JVKK.
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
QA patient safety ภาควิชาจักษุวิทยา.
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
Patient Safety Walk Rounds :
ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER TOOL
Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
โดย นายแพทย์สุชัย อนันตวณิชกิจ
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
PCT กุมารเวชกรรม รพ.เชียงรายฯ
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
25/07/2006.
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
การประเมินตนเองตามมาตรฐานตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
การสื่อสารยุทธศาสตร์ปี 2558
ระบบบริหารความเสี่ยง
WINTER 01 การบริหารความเสี่ยง ด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบสารสนเทศ
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
มุมมอง ผู้เยี่ยมสำรวจ fulltime
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
การจัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤติ เพื่อรองรับการชุมนุมประท้วง
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
4.1 (ก) การวัดผลการดำเนินการ การเลือก จากการจัดทำแผนกลยุทธ์ ของหมวด 2.1ก (1) ผู้บริหารระดับสูงได้กำหนดตัวชี้วัดหลักของศูนย์ศรีพัฒน์ฯ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์/เป้าหมาย.
Quality Improvement Track
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
แนวทางปฏิบัติ เรื่อง การรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์รุนแรง
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ accident ACCIDENT

ท่านทราบหรือไม่ว่า..... ความเสี่ยงคืออะไร ความเสี่ยงที่รุนแรงคืออะไร เมื่อเกิดอุบัติการณ์ขึ้น หน่วยงาน หรือ PCT ทำอย่างไรกับความเสี่ยง ในปี2550นี้ โรงพยาบาลกำหนดเข็มมุ่งความเสี่ยงไว้อย่างไร หน่วยงาน หรือ PCT ท่านมีความเสี่ยงสำคัญอะไร ขณะนี้แนวโน้มของความเสี่ยงต่างๆในหน่วยงาน หรือ PCT เป็นอย่างไร หน่วยงาน หรือ PCTมีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกอย่างไร

1. ความเสี่ยงคืออะไร ภาวะที่ไม่พึงประสงค์ ทั้งหมด 1. ผลแทรกซ้อนจากการดูแลรักษา/การปฏิบัติงาน ที่ไม่ได้คาดการณ์ ( unexpected, Adverse effect) 2. อุบัติการณ์ อุบัติเหตุ ที่เกิดขึ้นในที่ทำงาน ( Incident) 3. ความเสียหาย ที่ไม่ได้คาดการณ์เอาไว้ (unplanned) 4. ข้อร้องเรียน มีเรื่องมีราว >>> โดนฟ้อง

2. ความเสี่ยงที่รุนแรงคืออะไร สำหรับ Back office 1. ระดับไม่รุนแรง คือที่ไม่ส่งผลเสียหายต่อลูกค้า และองค์กร 2. ระดับรุนแรง คือส่งผลให้ต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น สำหรับ Clinic และ Paraclinic มี 9 ระดับ 1. ไม่รุนแรง A-D 2. รุนแรง E+

3. เมื่อเกิดอุบัติการณ์ขึ้น จะทำอย่างไร หน่วยงาน หรือ PCT ทำอย่างไรกับความเสี่ยง รายงานผู้บังคับบัญชาตามสายงาน ตามระดับ เขียนรายงานอุบัติการณ์ หากเป็นเรื่อง หรือมีแนวโน้มเรื่องใหญ่ รายงานผู้อำนวยการทันที ระดับรุนแรงต้องมีการทบทวน RCA ระดับรุนแรงควรมีการทบทวนในPCT หรือระดับที่ประชุมงาน มีการ monitor ในข้อ 5

4. ในปี2550นี้ โรงพยาบาลกำหนดเข็มมุ่งความเสี่ยงไว้อย่างไร 4. ในปี2550นี้ โรงพยาบาลกำหนดเข็มมุ่งความเสี่ยงไว้อย่างไร Saundok’s safety goal 2007 ระวังผิดตัว >>>สำหรับ back office การระบุตัวผู้รับบริการ น่ากลัวเรื่องยา ดูแลล่าช้า >>> สำหรับ back office เน้นความรวดเร็วในการให้บริการ ปัญหาเลือดผิด Sepsisต้องทบทวน ( 6+7 Falling/communication)

5. หน่วยงาน หรือ PCT ท่านมีความเสี่ยงสำคัญอะไร 5.1 Monitor อุบัติการณ์ ของหน่วยงาน และ Patient safety indicator 5.2 Monitor Saundok safety goal 5.3 Monitor Clinical risk 5.4 AE (จากการทบทวนของกรรมการ adverse event)

6. ขณะนี้แนวโน้มของความเสี่ยงต่างๆในหน่วยงาน หรือ PCT เป็นอย่างไร สืบเนื่องมาจากการmonitor ในข้อ 5-6 เราก็จะทราบแนวโน้ม ควรทราบว่าได้ทำอะไรไปเพื่อลดปัญหา หรือ จะทำอะไรต่อ กับความเคลื่อนไหวของตัวเลขเหล่านั้น

7. หน่วยงาน หรือ PCTมีการค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกอย่างไร C3THER เฉพาะราย การทบทวนเวชระเบียน การ round หน่วยงานประจำวัน การทำ team round/ หน่วยงาน ในช่วงเวลาที่กำหนด

Re-accreditation 16-18 มกราคม 2551 ขอให้ทุกคนโชคดี