ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
Graduate School Khon Kaen University
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
E-Service รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก.
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ขอบเขตการสืบค้นข้อมูล
ประสบการณ์จากงานบริการสารสนเทศ: ประโยชน์
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การบริหารงานของห้องสมุด
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
การดำเนินงานด้านการบริการ
การจัดการบริการสารสนเทศ
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Use Case Diagram.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
ระบบบริหารงบประมาณ และการเงิน (BIS)
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การจัดส่งข้อมูลตราสารหนี้ โดยช่องทาง Internet หรือ DMS DA (Extranet)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
การสืบค้นสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะผู้บริหารจากมหาวิทยาลัยนครพนม
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
OPAC (Online Public Access Catalog)
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
Patron Info Application
WEB OPAC.
ก ารพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ของ กลุ่มงานเทคนิคสารสนเทศ ของ กลุ่มงานเทคนิคสารสนเทศ Development to excellence of Technical information division working group.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
หน่วยงานอื่นของรัฐหรือหน่วยงานอื่นใดที่ดำเนินกิจการของรัฐตาม กฎหมาย และได้รับเงินอุดหนุน หรือเงิน หรือทรัพย์สินลงทุนจากรัฐ กระทรวง ทบวง.
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
กรณีศึกษา : ร้าน OHO Bookshop
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
กระบวนการสารสนเทศงานวิจัย
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
ProQuest Nursing & Allied Health Source
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
E-Sarabun.
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (KMUTT- LM)
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
Acquisition Module.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา รศ.ดร.พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 25-26 ตุลาคม 2548 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

โครงการพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับมหาวิทยาลัยของรัฐ เป็นระบบบูรณาการที่ออกแบบมาเพื่อช่วยในการจัดซื้อ จัดหาสารสนเทศและเพื่อสนับสนุนงานบริการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทั้งแก่ห้องสมุด สมาชิก และ ชุมชน

องค์ประกอบ ระบบบริหารจัดการ (Policy management module) ระบบการทำรายการ (Cataloging module) ระบบการบริการยืมคืน (Circulation module) ระบบการสืบค้นและบริการสมาชิก (OPAC and utility module) ระบบควบคุมการบอกรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Serials control module) ระบบการจัดซื้อจัดหา (Acquisition module)

1. Policy management module ทำหน้าที่ในการกำหนดเงื่อนไขและรูปแบบ (Parameter) ที่เกี่ยวข้องกับระบบ การกำหนดสิทธิของการใช้ระบบ (Security control) การกำหนดเงื่อนไขในการให้บริการต่างๆ การบริหารจัดการข้อมูลสมาชิก

2. Cataloging module เป็นระบบบริหารจัดการงานการทำรายการ (Cataloging) เพื่อใช้ในการจัดการข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศ (Information resource) ของห้องสมุด รองรับรูปแบบ Marc21 เพื่อสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างห้องสมุด สามารถทำรายการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับทรัพยากรสารสนเทศใหม่ได้ (Original Catalog)

สามารถทำรายการโดยการถ่ายโอนข้อมูลเข้าออกของระเบียนในรูปแบบ MARC21 ผ่าน Protocol Z39.50 รองรับการจัดทำรายการทรัพยากรสารสนเทศรายชิ้น (Itemizing) สามารถทำ Index จากข้อมูลที่ได้นำเข้าไปแล้ว

ควบคุมความถูกต้องของรายการ (Authority Control) เพื่อตรวจสอบรายการหัวเรื่อง รายการชื่อผู้แต่ง ฯลฯ เพื่อป้องกันการซ้ำซ้อนของข้อมูล สามารถออกรายงานในรูปแบบต่างๆเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ

3. Circulation module เป็นส่วนที่ใช้ในการบริการแก่สมาชิกในเรื่องของการยืม การคืน และ การจอง โดยพัฒนาให้สามารถใช้กับห้องสมุดที่มีจุดให้บริการมากกว่า 1 แห่ง สามารถกำหนด parameter ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ ทั้งในด้านการยืม การคืน การยืมต่อ การจอง การปรับ การยกเลิกการให้บริการชั่วคราวและการรายงานสถิติ

การบริการยืม การบริการคืน การให้บริการยืมต่อ (Renew) ณ จุดบริการและผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การจอง

การยืม-คืน-จองข้ามจุดบริการภายในองค์กรเดียว โดยคำนึงถึงการบริหารจัดการที่คุ้มค่า สามารถใช้กับห้องสมุดที่มีจุดให้บริการมากกว่า 1 แห่ง การปรับ การชำระค่าปรับ และการยกเว้นค่าปรับ

ระบบใบเสร็จและรายงานทางการเงิน (Billing and Reporting) สามารถตรวจสอบและยกเลิกการให้บริการชั่วคราว (Blocking) การออกรายงานการใช้บริการและสถิติ (Management Reporting)

4. OPAC and utility module ระบบการสืบค้นและบริการสมาชิก เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่สมาชิกห้องสมุด ตลอดจนผู้สนใจ และสามารถติดต่อกับระบบผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ สามารถสืบค้นข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศโดยกำหนดเงื่อนไขการสืบค้นได้ สามารถสืบค้นสถานะของทรัพยากรสารสนเทศ

สมาชิกสามารถสืบค้นข้อมูลสถานการณ์ยืมและสถานการณ์จองของตนเอง สมาชิกสามารถปรับปรุง email address เพื่อการติดต่อได้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทั้งนี้เพื่อที่ห้องสมุดสามารถใช้เป็นช่องทางในการแจ้งเตือนกำหนดส่งคืนหนังสือ ตลอดจนการแจ้งรับหนังสือจองได้ด้วยตนเอง

5. Serials control module* เป็นส่วนที่ใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง โดยมีความสามารถในการทำงานดังนี้ การจัดหาและลงทะเบียนสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง การวิเคราะห์สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องและทำดรรชนี การบริการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง การเย็บเล่มสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง การออกรายงานการใช้บริการและค่าสถิติ

6. Acquisition module* เป็นส่วนที่ใช้ในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ โดยมุ่งเน้นให้ผู้ใช้บางกลุ่ม เช่น อาจารย์ผู้สอน ผู้บริหารหลักสูตร คณบดี สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดหา ระบบการคัดเลือก (Request & Selection System) ระบบการสั่งซื้อและการบริหารรายงานทางการเงิน (Ordering and Reporting)

Q & A