การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
การประกันคุณภาพภายนอก
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
Learning Organization PSU.
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile)
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การประกันคุณภาพการศึกษา
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การประกันคุณภาพการศึกษา
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
ประวัติการศึกษาไทย.
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
Change Management.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3 การประชุมวิชาการเฉลิมพระเกียรติฯ ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี 3 พ.ย. 50 ศ.ดร.กิตติชัย วัฒนานิกร

สิ่งท้าทายสำคัญของระบบประกันคุณภาพการศึกษาในอนาคต จะทำอย่างไรให้ “กระบวนการให้การศึกษาและการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษา” เป็นไปตามความมุ่งหมาย หลักการและ “แนวการจัดการศึกษา” ที่ระบุในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542? จะทำอย่างไรให้ “ผลผลิต” และ “ผลลัพธ์” ของการจัดการศึกษาสร้าง “ผลกระทบ”สอดคล้องกับความต้องการของชาติ และการแข่งขันทางเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน? จะทำอย่างไรให้แต่ละสถาบันสามารถพัฒนาตาม “จุดเน้นของตนเอง” ไปสู่ “มาตรฐานระดับสากล”? จะทำอย่างไรให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย “สามารถเข้าถึงข้อมูลและสารสนเทศ”ของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ถูกต้องแม่นยำ สอดคล้องกับความต้องการใช้และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา? จะทำอย่างไรในการส่งเสริม “ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้” (accountability) ทั้งต่องานวิชาการ ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และต่อการบริหาร ให้เกิดขึ้นในทุกสถาบันอุดมศึกษา? จะทำอย่างไรให้การประกันคุณภาพการศึกษาพัฒนาไปเป็น “วัฒนธรรมคุณภาพ” (quality culture)?

การดำรงชีวิตของแต่ละบุคคล หลังยุคอุตสาหกรรม (Post-industrial) มีอาชีพหลากหลาย (Multiple careers) ทำงานหลายอย่าง (Multiple jobs) ไม่มีความชัดเจนในตัวตน (Blurred identity) การเรียน-การงานขาดความสัมพันธ์ (Work-study mismatch) มีโอกาสทำงานอิสระ (Possible free-lancing) ตกงานบ่อย (Frequent off-jobs) รายได้ไม่แน่นอน (Precarious incomes) สถานภาพปรับเปลี่ยนขึ้น-ลง (Fluctuating status) อนาคตไม่แน่นอน (Unpredictable future) มีการเปลี่ยนเครือข่าย (Varying networks) มีการเปลี่ยนคู่ความสัมพันธ์ (Changing partners) ความไม่มั่นคง/ไม่แน่นอน (Insecurity, uncertainty) Kai-ming cheng, 2007

ความสามารถที่คาดหวังของแต่ละบุคคลหลังยุคอุตสาหกรรม (Post-industrial) การสื่อสาร (Communication) การทำงานเป็นทีม (Team-working) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Human relations) การแก้ปัญหา (Problem-solving) การกล้าเสี่ยง (Risk-taking) การสร้างสรรค์ & นวัตกรรม (Design & innovations) ความรับผิดชอบส่วนบุคคล (Personal responsibility) การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (Continuous learning) การจัดการตนเอง (Self-management) จรรยาบรรณ ค่านิยม และหลักการ (Ethics, values principles) Kai-ming cheng, 2007

หน้าที่ตามพรบ.ฯ มาตรา 48 “ให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ...”

หน้าที่ตามพรบ.ฯ มาตรา 49 “ให้มีสมศ. ... ทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และประเมินผลการจัดการศึกษา ... โดยคำนึงถึงความมุ่งหมายและหลักการ และแนวการจัดการศึกษา .... ตามที่กำหนดไว้ในพรบ.”

ความแตกต่างสำคัญของการประเมินรอบ2 ของสมศ ความแตกต่างสำคัญของการประเมินรอบ2 ของสมศ. (2549-2553) เทียบกับรอบแรก(2544-2548) รอบแรก(8 มาตรฐาน 28 ตัวบ่งชี้) ประเมินให้เห็นสภาพจริงของสถาบันเพื่อกระตุ้นการพัฒนา รอบสอง(7 มาตรฐาน 39+9 ตัวบ่งชี้) ประเมินสถาบันและกลุ่มสาขา ประเมินตามจุดเน้นของสถาบัน(มีตัวบ่งชี้ร่วมและเฉพาะ) ประเมินเพื่อรับรองมาตรฐานคุณภาพตามเกณฑ์(ได้มาตรฐาน มีพัฒนาการ และบรรลุเป้าหมาย)

คำถามเบื้องต้นของการประเมินรอบที่ 3 ของสมศ. จะพัฒนาเกณฑ์และวิธีการประเมินอย่างไร ที่มั่นใจว่าได้ประเมินผลการจัดการศึกษา (ทั้งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ) เทียบกับ ลักษณะคุณภาพที่ควรจะเป็น ทั้งการประเมินผลการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม?

สรุปคำถามสำคัญของการประเมินภายนอกรอบที่ 3 ลักษณะคุณภาพที่ควรจะเป็นของ “ผลการจัดการศึกษา” คืออะไรในรอบต่อไป? มีตัวบ่งชี้อะไรที่ใช้ประเมินลักษณะคุณภาพดังกล่าว? ทำอย่างไรให้การได้มาซึ่งข้อมูลสำหรับการประเมินแต่ละตัวบ่งชี้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือ? มีวิธีการประเมินอย่างไรที่จะทำให้ผลการประเมินมีคุณภาพและตรงตามความเป็นจริงสอดคล้องกับจุดเน้นของสถาบันมากที่สุด? มีระบบเชื่อมโยงผลการประเมินกับการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึกษาของชาติอย่างเป็นรูปธรรมเพียงใด?