การเสนอผลงาน RID INNOVATION 2011 การปรับปรุงคุณภาพดินที่มีคุณสมบัติทางวิศวกรรมที่เลวหรือไม่เหมาะสมเพื่อเปลี่ยนเป็นดินที่มีคุณสมบัติทางวิศวกรรมที่ดีสำหรับใช้ก่อสร้างตัวเขื่อนดินโครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน นำเสนอโดย 1. นายชัชชัย เพชรอักษร ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายจัดการความปลอดภัยเขื่อน สังกัด ฝ่ายจัดการความปลอดภัยเขื่อน ส่วนวิศวกรรมบริหาร สำนักชลประทานที่1 2. นายณัฐวุฒิ นากสุก ตำแหน่ง หัวหน้ากลุ่มออกแบบ สังกัด กลุ่มออกแบบ ส่วนวิศวกรรมบริหาร สำนักชลประทานที่1 3. นายพีระศิลป์ ศรีสวัสดิ์ ตำแหน่ง นักธรณีวิทยาชำนาญการ สังกัด กลุ่มปฐพีและธรณีวิทยา ส่วนวิศวกรรมบริหาร สำนักชลประทานที่1 วันที่ 19 กันยายน 2554
ที่มาของโครงการอ่างเก็บน้ำปางคอง สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพะราชเสาวนีย์กับอธิบดีกรมชลประทาน ผู้อำนวยการสำนักชลประทานที่ 1 และข้าราชการที่มาเข้าเฝ้าส่งเสด็จฯ ถึงพระราชกระแสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงตรัสถามความก้าวหน้างานก่อสร้างของกรมชลประทาน ที่เป็นลักษณะยุทธศาสตร์การพัฒนา (BUFFER STATE) ทรงพระราชทานพระราชดำริให้ดำเนินการก่อสร้างให้ครบทุกพื้นที่ เพราะถ้าในภายหน้าชนกลุ่มน้อยบริเวณแนวชายแดนบุกรุกเข้ามาหรือมีความจำเป็นต้องอพยพเข้ามาในประเทศไทย จะได้ไม่เข้ามาอยู่กระจัดกระจายและตัดไม้ทำลายป่า ซึ่งชนกลุ่มน้อยนี้จะต้องเข้ามาอยู่ในจุดที่มีแหล่งน้ำ จะทำให้สามารถควบคุมได้ง่ายขึ้นเป็นลักษณะยุทธศาสตร์การพัฒนา
ข้อมูลอ่างเก็บน้ำปางคอง - ปริมาณน้ำไหลผ่านหัวงานเฉลี่ยต่อปี 0.296ล้าน ลบ.ม. - ปริมาณน้ำนองสูงสุด (รอบ50 ปี) 3.43 ลบ.ม./วินาที - ความจุโดยประมาณที่ระดับเก็บกัก 0.200 ล้าน ลบ.ม. - อาคารหัวงานทำนบดิน ยาว 92.50 ม. สูง 19.50 ม. กว้าง 9.00 ม. ระดับเก็บกัก + 1,358.250 ม.(ร.ท.ก.) ระดับสันทำนบดิน + 1,360.000 ม.(ร.ท.ก.) ระดับน้ำต่ำสุด + 1,343.717 ม.(ร.ท.ก.)
ที่ตั้งอ่างเก็บน้ำปางคอง
ปัญหาการก่อสร้างตัวเขื่อนดิน อ่างเก็บน้ำปางคอง ปัญหาการก่อสร้างเขื่อนดิน อ่างเก็บน้ำปางคอง 1.ปัญหาธรณีวิทยาฐานราก 2.ปัญหาปถพีกลศาสฅร์ 3.ปัญหาวัสดุก่อสร้าง
Argillaceous Limestone แหล่งบ่อยืมดิน อ่างเก็บน้ำปางคอง MH Argillaceous Limestone GM
แหล่ง Argillaceous limestone แหล่งวัสดุ อ่างเก็บน้ำปางคอง แนวแกนเขื่อนดิน ด้านในอ่างฯ แหล่ง Argillaceous limestone
คุณสมบัติทางวิศวกรรมที่เลวหรือไม่เหมาะสมในการก่อสร้าง 1.ค่าหน่วยน้ำหนักต่ำ 2.กำลังรับแรงเฉือนต่ำ 3.การถมบดอัดแน่นทำได้ยากมาก 4. เมื่อดินเสียความชื้นจะแตกร้าวได้ง่าย การเรียงตัวของโครงสร้างดินเป็นแบบรวงผึ้ง โครงสร้างการเรียงตัวแบบรวงผึ้ง มีข้อดี ดินมีความทึบน้ำสูง ข้อเสีย Void มาก หน่วยน้ำหนักต่ำ กำลังรับแรงเฉือนต่ำ แห้งแตกง่าย PI สูง ก่อสร้างบดอัดยาก
คุณสมบัติของแหล่งดินที่เลว คุณสมบัติของดินที่ปรับปรุงคุณภาพ การแก้ปัญหาโดยการปรับปรุงคุณภาพดิน อ่างเก็บน้ำปางคอง คุณสมบัติของแหล่งดินที่เลว (MH,GM(เดิม)) คุณสมบัติของดินที่ปรับปรุงคุณภาพ (GM(Argillaceous Limestone)) 1.หน่วยน้ำหนักต่ำ (ดินเบา) 2. กำลังรับแรงเฉือนต่ำ 3.การถมบดอัดแน่นทำได้ยากมาก (PI สูง) 4.เมื่อดินเสียความชื้นจะแตกได้ง่าย (PI สูง) 5. Void Ratio สูง 6. ดิน GM (ปางคอง) เสื่อมสภาพได้ง่าย 7. ทำให้ตัวเขื่อนโดยรวมเสถียรภาพต่ำ 1.หน่วยน้ำหนักสูง 2. กำลังรับแรงเฉือนสูง 3.การถมบดอัดแน่นทำได้ง่าย (PI ต่ำ) 4.เมื่อดินเสียความชื้นไม่แตก (PI ต่ำ) 5. Void Ratio ต่ำ 6. ดินไม่เสื่อมสภาพ 7. ทำให้ตัวเขื่อนโดยรวมเสถียรภาพสูง 8. เป็น PROTECTION LAYER ราคางานโดยรวมไม่เกินกว่าราคาเดิมในสัญญาโดยคุณภาพงานดีขึ้น
แนวทางการการปรับปรุงคุณภาพดิน อ่างเก็บน้ำปางคอง
Soil Improvement Protection Layer Soil Improvement Protection Layer GM GM MH
การก่อสร้างฐานราก เขื่อนดินอ่างเก็บน้ำปางคอง
การก่อสร้างฐานราก เขื่อนดินอ่างเก็บน้ำปางคอง
การปรับปรุงคุณภาพดินโดยการผสมดิน MH กับกากหินผุ (Argillaceous limestone)
ปัญหาระหว่างการก่อสร้าง การแก้ปัญหาระหว่างการก่อสร้าง
ผลสำเร็จการแก้ปัญหาโดยการปรับปรุงคุณภาพดิน อ่างเก็บน้ำปางคอง
คุณสมบัติของดินที่ปรับปรุงคุณภาพ (GM(Argillaceous Limestone)) ผลสำเร็จทางวิศวกรรมการแก้ปัญหาโดยการปรับปรุงคุณภาพดินเขื่อนปางคอง คุณสมบัติของดินที่ปรับปรุงคุณภาพ (GM(Argillaceous Limestone)) 1.หน่วยน้ำหนักสูง 2. กำลังรับแรงเฉือนสูง 3.การถมบดอัดแน่นทำได้ง่าย (PI ต่ำ) 4.เมื่อดินเสียความชื้นไม่แตก (PI ต่ำ) 5. Void Ratio ต่ำ 6. ดินไม่เสื่อมสภาพ 7. ทำให้ตัวเขื่อนโดยรวมเสถียรภาพสูง 8. เป็น PROTECTION LAYER ราคางานโดยรวมไม่เกินกว่าราคาเดิมในสัญญาโดยคุณภาพงานดีขึ้น ก่อสร้างแล้วเสร็จตามกำหนดเวลา
ด้วยความขอบคุณ