RID INNOVATION 2011 ระบบฐานข้อมูล รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สำนักชลประทานที่ 14
ผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น(RID INNOVATION 2011)รางวัลดีเด่นอันดับ 3 ด้านการพัฒนาคุณภาพการให้บริการและการพัฒนาระบบ ชื่อผลงาน “ระบบฐานข้อมูลรายงานสถานการณ์น้ำรายวัน ของสำนักชลประทานที่๑๔”
ทีมงาน นายเอกพล ฉิมพงษ์ นายบารมี สิริโสภณวัฒนา นายบุรีรัตน์ วงศ์บุรี
หน้าที่ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ สำนักชลประทานที่ 14 ตั้งแต่ ปี 2551-ปัจจุบัน โครงการในสังกัด 6 โครงการ รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน ส่งเข้ามาที่ ศูนย์ประมวลฯสชป.14 ก่อนเวลา 8.30 น. ทุกวัน 365 รายงาน/ปี/โครงการ ศูนย์ประมวลฯ สชป.14 สรุปภาพรวมของสำนักฯ รายวัน ทุกวัน ให้เสร็จก่อน เวลา 9.00 น. ส่งศูนย์ประมวลฯ กรมชลประทาน และ กองงานส่วนพระองค์ วังไกลกังวล ก่อนเวลา 9.30 น.
หน้าที่ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ สำนักชลประทานที่ 14 ตั้งแต่ ปี 2551 - ปัจจุบัน นำข้อมูลรายงานสถานการณ์น้ำรายวัน ทุกโครงการมาสรุปเป็น PowerPoint เพื่อใช้ติดตามสถานการณ์น้ำรายสัปดาห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทุกวันพุธ 9.00 น. ทุกสัปดาห์ (ปัจจุบัน ครั้งที่ 180) 1. ติดตามสภาพภูมิอากาศ น้ำในอ่างเก็บน้ำ น้ำท่า 2. ติดตามภัยแล้ง / อุทกภัย และความช่วยเหลือ 3. คาดการณ์และแนวโน้ม
แบบฟอร์ม สอน.ปน.01 รายงานสถานการณ์น้ำรายวัน สภาพฝน สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำ สภาพน้ำท่า สถานการณ์น้ำ การให้ความช่วยเหลือ แนวโน้ม และ อื่น ๆ ( เอกสาร B )
ทุกวันราชการ วันหยุด จะทำอย่างไร ? 13.30 น. 11.00 น. 8.30 น.
ปรับปรุง กระบวนการติดตามสถานการณ์น้ำ สำนักชลประทานที่ 14 ปรับปรุง กระบวนการติดตามสถานการณ์น้ำ สำนักชลประทานที่ 14
สอน.ปน.01
1. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาแหล่งน้ำ การดำเนินงาน ตามแผนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด 4 (การจัดการความรู้) และ หมวด 6 (การจัดการกระบวนการ) สำนักชลประทานที่ 14 คณะทำงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ (CoP:Communication of Practices) เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนงานที่สำคัญ ทั้ง 3 ประเด็น 1. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาแหล่งน้ำ 2. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำ 3. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพสายงานสนับสนุน
2. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำในกระบวนงานที่สำคัญและจำเป็น มีหัวข้อ ดังนี้ - กระบวนการ การบริหารจัดการน้ำในระดับโครงการและสำนักชลประทานที่ 14 - กระบวนการ จัดทำข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักชลประทานที่ 14 - สรุปบทเรียนการบริหารจัดการน้ำกรณีวิกฤติภัยแล้ง ปี 2554 ในเขตพื้นที่ สชป.14 มีนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกระบวนการ ดังนี้ - นวัตกรรมระบบส่งข้อมูลสถานการณ์น้ำรายวันทางเว็บไซต์และฐานข้อมูล สถานการณ์น้ำรายวัน ในเขต สชป.14 - การส่งข้อมูลสถานการณ์น้ำทาง FACEBOOK - (แนวคิด) นวัตกรรม การจัดทำข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักชลประทานที่ 14 - การเตรียมความพร้อมเพื่อรับสถานการณ์อุทกภัย (ระบบรองรับสภาวะฉุกเฉิน) - การติดตามสถานการณ์น้ำและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รายสัปดาห์ทุกวันพุธ
นวัตกรรม เพื่อ ทำให้กระบวนการบรรลุผล นวัตกรรม ถ่ายทอดสัญญาณการประชุมทางอินเตอร์เน็ต นวัตกรรม ฐานข้อมูลสถานการณ์น้ำรายวัน นวัตกรรม ข้อมูลสถานการณ์น้ำรายวันบน กระบวนการ ติดตามสถานการณ์น้ำรายสัปดาห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของผลงาน เครื่องมือส่งข้อมูลรายงานสถานการณ์น้ำรายวันทางหน้าเว็บไซต์ เก็บเป็นฐานข้อมูล ใช้ฐานข้อมูลเดียวกันทั้งสำนักฯ มีระบบเตือนผู้บริหารให้เฝ้าระวัง (MIS) ติดตามดูรายงานได้ทุกที่ ทุกเวลา ทั่วโลก ประหยัดและดูแลง่าย มีระบบสำรอง
วิธีการดำเนินงาน กำหนดมาตรฐานแบบฟอร์ม สอน.ปน.01 ตามสำนักอุทกฯ เป็น File Excel เพื่อพัฒนาต่อได้ ข้อตกลง สัญลักษณ์ เวลาที่ส่งข้อมูล สร้างระบบให้ง่ายที่สุด ใช้ Dreamweaver และ HTML บันทึก File ขนาดไม่เกิน 800 KB ไว้ที่เชฟเวอร์ ชี้แจงผู้รับผิดชอบและดำเนินการ ทำคู่มือ
คู่มือ
ประชุมกลั่นกรองกระบวนการและนวัตกรรม
ทุกวันราชการ และ...วันหยุด 365 X 6 = 2,190 รายงาน/ปี < 9.00 น. < 8.30 น. < 9.30 น.
ประโยชน์ของผลงาน การส่งข้อมูล สะดวก ง่าย ติดตามและสั่งการ ได้ทันเวลาจากทั่วโลก มีฐานข้อมูล > 3 ปี ตั้งแต่ 1 ก.ค. 51 - ปัจจุบัน หาข้อมูลย้อนหลัง เพื่อศึกษาและวิจัย ได้ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่าย ช่องทางให้ข้อมูลผู้รับบริการ
สื่อ ประชาสัมพันธ์ โปสเตอร์ บอร์ด ร่วมซ้อมป้องกันภัยฯ วิทยุชุมชน เว็บไซต์
ประชาสัมพันธ์บอร์ดขนาดใหญ่ เทศบาลหัวหิน
เผยแพร่ นิทรรศการศูนย์ศึกษาฯ ห้วยทราย จ.เพชรบุรี 25-28 ส.ค. 54 ร่วมกับสถาบันการชลประทาน เพื่อประโยชน์สำหรับผู้รับบริการ
ข้อเสนอแนะ ฐานข้อมูลต้องง่ายในการสร้าง และดูแล ข้อมูลมีเฉพาะสาระสำคัญเท่านั้น ควรขยายผลให้ครบทุก สชป.1-17 มีข้อมูลสนับสนุนการศึกษาและวิจัย ทั่วประเทศ ประชาสัมพันธ์ผู้รับบริการ ให้ใช้ข้อมูล