ระบบการปลูกข้าวใหม่ ของประเทศไทย นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ รองอธิบดีกรมการข้าว
ความเป็นมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แต่งตั้งคณะกรรมการ จัดทำระบบการปลูกข้าว เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2553 โดยมีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธาน จัดเวทีรับฟังความคิดเห็นจากเกษตรกร โดยดำเนินการ รวม 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2553 ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กทม. มีผู้เข้าร่วมสัมมนา จำนวน 300 คน ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2553 ณ โรงแรมอมรินทร์ ลากูน จังหวัดพิษณุโลก มีผู้เข้าร่วมสัมมนา จำนวน 230 คน
ความเป็นมา (ต่อ) คณะอนุ กขช. ด้านการผลิต เห็นชอบโครงการฯ เมื่อวันที่ 14 พ.ค. 53 และให้นำเสนอ กขช. ต่อไป กขช. มีมติเห็นชอบในหลักการโครงการฯ และงบประมาณ จำนวน 2,180.36 ล้านบาท เมื่อวันที่ 10 มิ.ย. 53 และให้นำเสนอ ครม. ต่อไป
ปลูกพืชหลังนาหรือเว้นปลูก โครงการส่งน้ำเดียวกันปลูก พร้อมกัน กรอบแนวคิดโครงการจัดระบบการปลูกข้าว “ วิกฤตคือโอกาส ” ปลูกข้าวปีละ ไม่เกิน 2 ครั้ง วิกฤตน้ำ ปลูกข้าวต่อเนื่อง ปลูกข้าวไม่พร้อมกัน วิกฤตดิน จัดระบบ การปลูกข้าวใหม่ ปลูกพืชหลังนาหรือเว้นปลูก วิกฤตศัตรูข้าว โครงการส่งน้ำเดียวกันปลูก พร้อมกัน วิกฤตอื่น ๆ - ต้นทุนการผลิตสูง - ผลผลิตข้าว/คุณภาพข้าวต่ำ - ระบบนิเวศน์ถูกทำลาย
เป้าหมายการดำเนินงาน ในระยะแรก 22 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกำแพงเพชร เชียงราย นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย อุทัยธานี ชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง นครนายก ฉะเชิงเทรา ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และเพชรบุรี พื้นที่ในการจัดระบบการปลูกข้าว เป็นพื้นที่นาปรังใน 22 จังหวัด เป้าหมายรวม 9,532,672 ไร่
แนวทางการดำเนินงาน หลักการจัดระบบปลูกข้าวใหม่ แบ่งเป็น 4 ระบบ หลักการจัดระบบปลูกข้าวใหม่ แบ่งเป็น 4 ระบบ ชนิดพันธุ์พืชหลังนา ระยะเวลาการดำเนินงาน ปี 2553 – 2556 รวม 4 ปี งบประมาณ 2,180.36 ล้านบาท การบริหารจัดการโครงการ - รูปแบบคณะกรรมการ (ระบบปลูกข้าว) (พืชหลังนา) (แผนปฏิบัติการ) (งบประมาณ) (การบริหาร)
มาตรการจูงใจ มีการจัดสรรน้ำ ควบคุมการระบายระบบน้ำให้เป็นไปตามแผนของการจัดระบบการปลูกข้าวอย่างเคร่งครัด การใช้สิทธิประกันรายได้ เกษตรกรจะใช้สิทธิประกันรายได้ ไม่เกิน 2 ครั้ง มีการสนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชหลังนา/พืชปุ๋ยสด จัดหาตลาดเพื่อรองรับผลผลิตพืชหลังนา และพืชปุ๋ยสด ผ่อนปรนดอกเบี้ยและเลื่อนกำหนดเวลาชำระหนี้ ธ.ก.ส.
ผลประโยชน์ที่ได้รับ ประโยชน์ต่อเกษตรกร ต้นทุนการผลิตลดลงจากการใช้เทคโนโลยี ที่ถูกต้องและเหมาะสม ผลตอบแทนจากการปลูกข้าวมากขึ้น ในระบบการปลูกข้าวใหม่ได้ผลตอบแทนสูง กว่าระบบการปลูกข้าวเดิมถึงไร่ละ 892 บาท
ผลประโยชน์ที่ได้รับ สวัสดี ประโยชน์ต่อประเทศโดยส่วนรวม ผลผลิตโดยรวมเพิ่มขึ้น และผลผลิตข้าว คุณภาพดีขึ้น ระบบนิเวศน์ในพื้นที่นาดีขึ้น มีการบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดทั้งน้ำ และงบประมาณของรัฐ เพิ่มปริมาณผลผลิตพืชไร่บางชนิด ทดแทน การทำนาข้าว ลดการนำเข้าสารเคมี และปุ๋ยเคมีจากพื้นที่ ปลูกข้าว 3 ครั้ง 1.50 ล้านไร่ มูลค่าประมาณ 742 ล้านบาท (ปริมาณน้ำ) สวัสดี
การจัดระบบการปลูกข้าว ตามโครงการส่งน้ำ การจัดระบบการปลูกข้าวตามโครงการ ส่งน้ำและบำรุงรักษา 48 โครงการ คือ ลุ่มน้ำเจ้าพระยา 34 โครงการส่งน้ำฯ ลุ่มน้ำแม่กลอง 10 โครงการส่งน้ำฯ ลุ่มน้ำอื่น ๆ 4 โครงการส่งน้ำฯ (วิกฤติ)
แนวคิดในการจัดระบบการปลูกข้าวใหม่เป็น 4 ระบบ ช่วงเวลาปลูก มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 1) ข้าว - ข้าว - พืชหลังนา 2) ข้าว - ข้าว - เว้นปลูก 3) ข้าว - พืชหลังนา - ข้าว 3) ข้าว - เว้นปลูก - ข้าว ปลูก ข้าวนาปี เก็บเกี่ยว ปลูก ข้าวนาปรัง เก็บเกี่ยว ปลูก พืชหลังนา เก็บเกี่ยว ปลูก ข้าวนาปี เก็บเกี่ยว ปลูก ข้าวนาปรัง เก็บเกี่ยว เว้นปลูก ปลูก ข้าวนาปี เก็บเกี่ยว ปลูก ข้าวนาปรัง เก็บเกี่ยว ปลูก พืชหลังนา เก็บเกี่ยว ปลูก ข้าวนาปี เก็บเกี่ยว ปลูก ข้าวนาปรัง เก็บเกี่ยว เว้นปลูก (แนวทาง1)
พืชหลังนา ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดฝักอ่อน พืชปุ๋ยสด ได้แก่ - ปอเทือง - โสนอัฟริกัน - ถั่วพร้า ฯลฯ (แนวทาง2)
แผนปฏิบัติงานโครงการ กิจกรรม ช่วงเวลา หน่วยงานหลัก หน่วยงานสนับสนุน 1. แต่งตั้ง คณะกรรมการ ก.ค. 2553 กข. กสก. สศก. 2. ประชุมชี้แจง โครงการ ก.ค.- ส.ค. 2553 กสก. ชป. พด. กวก. กสส. สปก. กปศ. สศก. 3. ประชาสัมพันธ์ โครงการ ก.ค.- ธ.ค. 2553 กสก. กข. ชป. สศก. กสส. พด. 4. การสำรวจ ความต้องการ เข้าร่วมโครงการ และการวิเคราะห์ ข้อมูล ส.ค.- ก.ย. 2553 ชป. กสก. กสส. พด. กข. กปศ. สปก. 5. การจัดอบรม เกษตรกร ส.ค.- ต.ค. 2553 กข. กวก. พด.
แผนปฏิบัติงานโครงการ (ต่อ) กิจกรรม ช่วงเวลา หน่วยงานหลัก หน่วยงานสนับสนุน 6. การสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ พืชหลังนา/พืชปุ๋ยสด/ พืชอื่นๆ/ปัจจัยการผลิต ต.ค. - ธ.ค. 2553 กวก. พด. กข. กสก. กปศ. 7. จัดหาตลาดเพื่อรองรับ ผลผลิตพืชหลังนา ม.ค. 2553 - มี.ค. 2554 กสส. กสก. สศก. 8. ผ่อนปรนดอกเบี้ย ต.ค. 2553 - ต.ค. 2554 ธกส. กสก. กสส. 9. ติดตามนิเทศงาน ส.ค. 2553 - ต.ค. 2554 กข. กสก. ชป. พด. กวก. กสส. สปก. กปศ. 10. ประเมินผล (แนวทาง3)
งบประมาณโครงการ งบประมาณค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานโครงการ รวมจำนวน 2,180,360,000 บาท โดยแยกเป็น 1) งบสนับสนุนโครงการ 1,857,000,000 บาท (การสนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชหลังนา / พืชปุ๋ยสด/พืชอื่นๆ /ปัจจัยการผลิต) 2) บริหารโครงการ 305,360,000 บาท (ประชุมชี้แจง/จัดเวทีชุมชน/ ประชาสัมพันธ์/สำรวจความ ต้องการและวิเคราะห์ข้อมูล/ จัดอบรม/จัดหาตลาด/ ประเมินผล/อำนวยการ )
รายละเอียดงบประมาณโครงการ เป้าหมาย (4 ปี) งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วย ปริมาณ ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 รวม 1. งบบริหารโครงการ 1.1 ประชุมชี้แจงโครงการ คน 11,850 2.55 4.36 3.96 15.23 1.2 ประชา สัมพันธ์โครงการ จังหวัด 22 4.50 11.40 10.90 10.40 37.20 1.3 สำรวจความต้องการเข้าร่วมโครงการและการวิเคราะห์ข้อมูล 317,000 2.95 16.00 50.95 1.4 จัดอบรมเกษตรกร 155,000 2.00 20.00 62.00 1.5 จัดหาตลาดรองรับผลผลิต พืชหลังนา ล้านไร่ 3.3 - 33.00 99.00
รายละเอียดงบประมาณโครงการ (ต่อ) เป้าหมาย (4 ปี) งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วย ปริมาณ ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 รวม 1. งบบริหารโครงการ (ต่อ) 1.6 ประเมินผล โครงการ จังหวัด 22 - 2.00 6.00 1.7 อำนวยการ 12.24 11.74 11.00 34.98 12.00 99.00 98.00 96.36 305.36 2. การสนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชหลังนา/พืชปุ๋ยสด/พืชอื่นๆ และปัจจัยการผลิต 2.1 พืชหลังนา ล้านไร่ 3.3 517.00 1,551.00 2.2 พืชปุ๋ยสด 1.2 108.00 324.00 625.00 1,875.00 รวมทั้งสิ้น 724.00 723.00 721.36 2,180.36 (แนวทาง4)
การบริหารจัดการโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการ คณะทำงาน รวม 4 คณะ คือ 1. คณะกรรมการบริหารและกำกับดูแลโครงการจัดระบบ การปลูกข้าว โดยมี ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานกรรมการ รองอธิบดีกรมการข้าว เป็นกรรมการและเลขานุการ 2. คณะกรรมการบริหารและกำกับดูแลโครงการจัดระบบ การปลูกข้าว ระดับจังหวัด โดยมี ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโครงการชลประทาน เป็นกรรมการและ เลขานุการ
การบริหารจัดการโครงการ (ต่อ) 3. คณะกรรมการส่งเสริมแนะนำตลาดพืชหลังนาและพืชปุ๋ยสด โครงการจัดระบบการปลูกข้าว โดยมี รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานกรรมการ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ เป็นกรรมการและ เลขานุการ 4. คณะทำงานโครงการจัดระบบการปลูกข้าว ระดับอำเภอ โดยมี นายอำเภอ เป็นประธานคณะทำงาน หัวหน้าฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษา เป็นคณะทำงานและ (แนวทาง5)
เปรียบเทียบปริมาณการใช้น้ำ ในการปลูกระบบเดิมกับระบบใหม่ รายการ ระบบเดิม ระบบใหม่ ปริมาณการใช้น้ำลดลง พื้นที่ปลูก(ล้านไร่) 9.532 ปริมาณการใช้น้ำต่อไร่(ลบ.ม.) 1,200 1,044 รวมปริมาณการใช้น้ำ(ล้าน ลบ.ม.) 11,438 9,951 -1,487 ข้าวนาปรังใช้น้ำไร่ละ 1,200 ลบ.ม. พืชหลังนาใช้น้ำไร่ละ 500 ลบ.ม. (ประโยชน์ )