การประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานราชการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชา ใช้การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา โดยนำ ผล การประเมินใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาด้านต่าง ๆ การเลื่อนค่าตอบแทน การเลิกจ้าง การต่อสัญญาจ้าง อื่น ๆ เช่น การจัดทำบัญชีรายชื่อผู้ที่เคยเป็นพนักงานราชการ แยกตามผลการประเมินเพื่อใช้สำหรับการพิจารณาการว่าจ้างครั้งต่อไป
การประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของแต่ละคนในช่วงเวลาที่กำหนด ผู้บังคับบัญชา ประเมินผลจากข้อมูลจริง เทียบกับ เป้าหมายการปฏิบัติงาน ที่ได้ตกลงกันไว้ เมื่อเริ่มรอบการประเมิน เป็นการประเมินเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาทราบว่า ผลการปฏิบัติงานเป็นอย่างไร
การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมินจาก 2 ส่วน 1. ผลสำเร็จของงาน - ความสำเร็จของงานตามยุทธศาสตร์ - งานภารกิจ ซึ่งเป็นงานประจำปีของส่วนราชการ - งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา - งานที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายให้ไปปฏิบัติในฐานะสมาชิกทีมงาน / คณะทำงาน ซึ่งไม่ใช่งานประจำของหน่วยงานต้นสังกัด การประเมินผลสำเร็จของงานจริง - เป็นการประเมินความสำเร็จของงาน เปรียบเทียบ ตามแบบการปฏิบัติงานที่วางไว้เมื่อเริ่มรอบการประเมิน
กำหนดคะแนนประเมิน 100 คะแนน แบ่งเป็นสัดส่วน ดังนี้ ผลงาน กำหนดให้มีสัดส่วน ร้อยละ 70 คุณลักษณะ / สมรรถนะ ” ร้อยละ 30
การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมิน ผลสำเร็จของงาน พิจารณาจากองค์ประกอบดังนี้ - ปริมาณงาน - คุณภาพของงาน - ความทันเวลา - ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติได้ - การคำนึงถึงการใช้ทรัพยากร
การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมิน สมรรถนะ / คุณลักษณะ พิจารณาจากองค์ประกอบ ดังนี้ 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2. การบริการที่ดี 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 4. จริยธรรม 5. การทำงานเป็นทีม 6. การมาทำงานและการตรงต่อเวลา 7. ความรอบรู้ในงานและความสามารถในการเรียนรู้ 8. ความเชื่อถือไว้วางใจความเอาใจใส่งาน 9. การปฏิบัติตามคำสั่งและคำแนะนำของผู้บังคับบัญชา 10. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทุกกลุ่มงาน กลุ่มบริหารทั่วไป กลุ่มวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มวิชาเชี่ยวชาญเฉพาะ
ระยะเวลาของการประเมิน เลื่อนขั้นปีละ 1 ครั้ง 1 ตุลาคม ของทุกปี การประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมิน ตามรอบปีงบประมาณแบ่งเป็น 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 31 มีนาคม ของปีถัดไป ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน ของปีเดียวกัน เลื่อนขั้นปีละ 1 ครั้ง 1 ตุลาคม ของทุกปี
การกำหนดสัดส่วนคะแนนประเมิน 3 ระดับ พิจารณาต่อสัญญาจ้าง เลื่อนขั้นค่าตอบแทนประจำปี ค่าตอบแทนพิเศษ - ระดับ ดีเด่น ร้อยละ 90 - 100 พิจารณาต่อสัญญาจ้าง เลื่อนขั้นค่าตอบแทนประจำปี - ระดับ ดี ร้อยละ 60 - 89 ระดับ ต้องปรับปรุง คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 60 ไม่ผ่านการประเมิน ไม่ได้รับการต่อสัญญาจ้าง
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของกรมชลประทาน 1. แบบ พร.10 2. แบบ พร.10 สรุปผล