สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552 กลุ่ม 5
รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 5 1 นายอำนวย คชวงศ์ นิติกรชำนาญการพิเศษ กมด. 2 นายสิทธิชัย สาลีพันธ์ วิศวกรโยธาชำนาญการ สคญ. 3 นายดุษฎี คงสวัสดิ์ นายช่างโยธาอาวุโส 4 นายเพิ่มศักดิ์ คิดหมาย วิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ 5 นายณภัทร ผดุงเจริญโชติ 6 นายวีระชัย ชูพิศาลยโรจน์ สบก.
รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 5 7 นายกัมปนาท ขวัญศิริกุล นักธรณีวิทยาชำนาญการ สรธ. 8 นายสาธิต มณีผาย ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมโยธา สอบ. 9 นางสุนันทา เพ็ญสุต นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ สวพ. 10 นายวสันต์ วชิรธรรมโรจน์ นายช่างชลประทานชำนาญงาน สชป.3 11 นายวีระศักดิ์ ภูกานันท์ วิศวกรชลประทานชำนาญการ สชป.7 12 นายอุดม ทิพย์เดโช นายช่างชลประทานอาวุโส สชป.9 13 นายพจน์ เกษชุมพล สชป.13 14 นายเถลิงกิตติ์ สุวรรณชาติ สชป.17
เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ กลุ่ม 5 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ โครงการแควน้อยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ชป.01 จำนวนปริมาณเก็บกักที่เพิ่มขึ้น (760 ล้านลูกบาศก์เมตร) ชป.02 จำนวนพื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น (65,000ไร่) ประชาชนต้องการและให้ความร่วมมือ ความพร้อมของปัจจัยของงานก่อสร้าง เช่น ที่ดิน 4M อื่นๆ
เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ กลุ่ม 5 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ โครงการจัดทำแบบมาตรฐานอ่างเก็บน้ำชุมชน ชป.03 จำนวนแหล่งน้ำเพื่อชุมชนที่เพิ่มขึ้น (240/245 แห่ง) ความพร้อมของข้อมูล มีแนวทาง หลักเกณฑ์ที่เป็นไปตามหลักวิชาการ มีผู้รับผิดชอบที่มีความรู้และประสบการณ์ มีแผนการทำงานที่ชัดเจน อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงานเพียงพอ
เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ กลุ่ม 5 แผนงาน/โครงการ ที่บรรลุผลสำเร็จ เป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์กรมที่บรรลุผล ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ งานจัดหาที่ดินแล้วเสร็จตามแผน (พื้นที่) ชป.02 จำนวนพื้นที่ชลประทานที่เพิ่มขึ้น (26,000/28,000 ไร่) แผนงานชัดเจน บุคลากรมีความรู้ ราคาค่าทดแทน ความรวดเร็วถูกต้องในการจ่ายค่าทดแทน การมีส่วนร่วมของประชาชน
แผนงาน/โครงการที่บรรลุผลสำเร็จ กลุ่มที่ 5 แผนงาน/โครงการที่บรรลุผลสำเร็จ สิ่งที่ควรพัฒนาต่อยอดความสำเร็จ เพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงการแควน้อยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ แผนการมีส่วนร่วม/ประชาสัมพันธ์อย่างชัดเจนในทุกระยะก่อสร้าง การทดทวนระเบียบ กฎหมาย วิธีการจัดหาที่ดิน และการขออนุญาตต่างๆ โครงการจัดทำแบบมาตรฐานอ่างเก็บน้ำชุมชน พัฒนาต่อเนื่องจากแบบมาตรฐานเป็นโปรแกรมสร้างแบบตาม Option จัดทำโครงการแบบมาตรฐานเพื่อใช้ในงานพัฒนาแหล่งน้ำ ประเภทอื่นๆ เพิ่มขึ้น มีการพัฒนาขยายผลด้าน Software/Hardware ตลอดจนงานออกแบบด้านอื่นๆ งานจัดหาที่ดินแล้วเสร็จตามแผน (พื้นที่) ตั้งคณะทำงานพิจารณาหลักเกณฑ์การกำหนดราคา ทำข้อตกลงระหว่างส่วนราชการ (Mou) กรมต้องจัดทำแผน MTEF อย่างชัดเจน ประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง
ที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์กรม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ กลุ่มที่ 5 แผนงาน/โครงการ ที่ไม่บรรลุเป้าประสงค์กรม ปัญหาอุปสรรคและสาเหตุ แนวทางการแก้ไข โครงการประแสร์ การจัดซื้อท่อเหล็กช้ากว่าแผนมาก (ยกเลิก 2 ครั้ง) 1. สร้างมาตรฐานการจัดซื้อ/จัดจ้าง 2. ความรอบคอบในการร่าง TOR ราคากลาง/เอกสารประกวดราคา โครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้ำคลองขลุง เร่งรัดทำตามมติ ครม. โดยไม่ยึดแนวทางและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ยึดระเบียบแบบแผน กฎหมายที่กำหนดให้ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด จัดทำข้อตกลงระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้ มติ ครม. มีผลถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 กลุ่ม 5 ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 เน้นกระบวนการมีส่วนร่วม / กิจกรรมประเพณีท้องถิ่น การประชาสัมพันธ์เชิงรุก เน้นการเตรียมความพร้อมจริงๆ ทำกระบวนการ KM อย่างต่อเนื่อง พัฒนาทีมงาน/มีการทำงานเป็น TEAM WORK ส่งเสริมค่านิยม Water for All ในทุกระดับ แนวทางเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรม (ปี 53-55)
ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 กลุ่ม 5 ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมฯในปีงบประมาณ 2553 8. สนับสนุนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ ควรเพิ่มบุคลากรสำหรับงานตรวจสอบ วิเคราะห์ คุณภาพน้ำ ปรับปรุงห้องปฏิบัติการให้ทันสมัย สร้างเครือข่ายหน่วยงานต่าง เช่น กรมทรัพยากรน้ำ ให้ความสำคัญกับงานด้านเตรียมความพร้อม (ศึกษา สำรวจ ออกแบบ) เป็นลำดับต้นๆ การพัฒนาแหล่งน้ำเมื่อมีแหล่งน้ำต้นทุนแล้ว ต้องมีระบบตามด้วย ให้ศึกษาโครงการที่เป็นความต้องการของคนในพื้นที่จริง