การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2011
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ บริษัท ทีซิส คอนเซาท์ จำกัด โทร Public Sector Management Quality Award สมชาติ ก้องนภา สันติกุล.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ฉบับบูรณาการ กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค (HPH PLUS) ปีงบประมาณ 2552 ภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
การแจกแจงปกติ.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การลงข้อมูลแผนการสอน
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กรและบุคลากร ให้มีขีดสมรรถนะสูงได้มาตรฐานสากล การดำเนินการพัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร เป็นการนำเกณฑ์
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
กราฟเบื้องต้น.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) 19 พฤศจิกายน 2551

กรอบการนำเสนอ ภาพรวมการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

ภาพรวมการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2551 2549 2550 2551 น้ำหนักร้อยละ 5 กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) วัดการดำเนินการแบบMilestone มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ น้ำหนักร้อยละ 5 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดการดำเนินการแบบ Milestone มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง สำหรับส่วนราชการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร และดำเนินการปรับปรุงองค์กร น้ำหนักร้อยละ 22 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI”

วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แนวทางที่ 1 เป็นการดำเนินการตามแนวทางของกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ซึ่งเป็นภาคบังคับที่ทุกหน่วยงานจะต้องดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐาน แนวทางที่ 2 ภาคสมัครใจเป็นการสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยมีหลักเกณฑ์และกลไกที่แตกต่างจากกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2552 กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ มุ่งเน้นให้หน่วยงานปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละหน่วยงานมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”

กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

แนวทางการนำเสนอ ส่วนราชการระดับกรม สถาบันอุดมศึกษา ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แนวทางการนำเสนอ ส่วนราชการระดับกรม สถาบันอุดมศึกษา ส่วนราชการระดับจังหวัด

กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การประเมินผลตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 20

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาองค์การ จำนวน 2 แผน ซึ่งแต่ละแผนแบ่งการประเมินผลเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 14.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 14.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 6 12

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 14.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวดภาคบังคับและหมวดภาคสมัครใจ) การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 60 70 80 90 100 ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณาจากจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์เทียบกับจำนวนข้อทั้งหมดในแต่ละหมวด แล้วนำผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.1 และ 3.2

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ส่วนราชการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เป็นรายหมวด จำนวน 2 แผน ส่วนราชการอาจกำหนด Roadmap แผนพัฒนาองค์การ ดังนี้ 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ประเภทกรม แผนภาคบังคับ แผนภาคสมัครใจ* กรมนโยบาย หมวด 2 หมวด 1 หรือ 4 กรมบริการ หมวด 3 หมวด 1 หรือ 6 * ข้อแนะนำ 2552 2553 2554 กรมด้าน บริการ นโยบาย 3 6 1 5 2 4

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 14.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 4 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) (น้ำหนักร้อยละ 4) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 14.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.3

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 14.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 7 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553* (2 แผน) -

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 5

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 6 7 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการ การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 6 การพิจารณาความครบถ้วนในการประเมินองค์กรด้วยตนเองให้นำแบบฟอร์มที่ 3.1,3.2 และ 3.3 มานับรวมด้วย ดังนั้น จึงหมายความว่าส่วนราชการจะประเมินองค์กรในส่วนของตัวชี้วัดที่ 14.3 นี้ด้วยแบบฟอร์มที่ 6 เพิ่มเติมอีก 4 หมวด (นอกเหนือจากแบบฟอร์มที่ 3) แต่นับความครบถ้วนสมบูรณที่ระดับ 5 เท่ากับ 7 หมวด

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (2 แผน) - 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของแผนพัฒนาองค์การแต่ละแผน กรมด้านนโยบาย ให้ดำเนินการหมวดบังคับ คือ หมวด 4 (หากส่วนราชการเลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แล้ว ให้ดำเนินการในหมวด 1 แทน) กรมด้านบริการ ให้ดำเนินการหมวดบังคับ คือ หมวด 6 (หากส่วนราชการเลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แล้ว ให้ดำเนินการในหมวด 1 แทน) กรณีส่วนราชการที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 จะต้องจัดทำแผนฯเพิ่มเติมมาด้วย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7

กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สถาบันอุดมศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การประเมินผลตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 18 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 6 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 30

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาองค์การ จำนวน 3 แผน ซึ่งแต่ละแผนแบ่งการประเมินผลเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 18) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 รวม 12.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 12 12.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 6 18

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 รวม 12.1.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 12 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 18) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวดภาคบังคับ และ หมวดภาคสมัครใจ 2 หมวด) การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 60 70 80 90 100 ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณาจากจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์เทียบกับจำนวนข้อทั้งหมดในแต่ละหมวด แล้วนำผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.1 และ 3.2

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด สถาบันอุดมศึกษาจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เป็นรายหมวด จำนวน 3 แผน สถาบันอุดมศึกษาอาจกำหนด Roadmap แผนพัฒนาองค์การ ดังนี้ 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 18) แผนภาคบังคับ แผนภาคสมัครใจ* หมวด 1 หมวด 5 หมวด 6 * ข้อแนะนำ การพัฒนาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สถาบันอุดมศึกษาควรมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของคณาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง ควรมีการออกแบบกระบวนงานที่มีประสิทธิภาพเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของผู้เรียน 2552 2553 2554 สถาบัน อุดมศึกษา เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 1 5 3 6 2 4 Successful Level

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 รวม 12.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 6 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 18) ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) (น้ำหนักร้อยละ 6) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.3

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 6) การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 7 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553* (3 แผน) -

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 6) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 5

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 6 7 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 6) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการ การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การพิจารณาความครบถ้วนในการประเมินองค์กรด้วยตนเองให้นำแบบฟอร์มที่ 3.1,3.2.1,3.2.2 และ 3.3 มานับรวมด้วย ดังนั้น จึงหมายความว่าสถาบันอุดมศึกษาจะประเมินองค์กรในส่วนของตัวชี้วัดที่ 12.3 นี้ด้วยแบบฟอร์มที่ 6 เพิ่มเติมอีก 3 หมวด (นอกเหนือจากแบบฟอร์มที่ 3) แต่นับความครบถ้วนสมบูรณที่ระดับ 5 เท่ากับ 7 หมวด อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 6

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (3 แผน) - 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 6) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของแผนพัฒนาองค์การแต่ละแผน การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้สถาบันอุดมศึกษาดำเนินการหมวดบังคับ คือ หมวด 6 (หากสถาบันอุดมศึกษาเลือกดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แล้ว ให้ดำเนินการในหมวด 5 หรือหมวด 3 แทน ตามลำดับ) กรณีที่สถาบันอุดมศึกษาใดยังไม่ผ่านเกณฑ์ฯ บางข้อที่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ให้จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เพิ่มเติมมาด้วย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7

กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ 1.1 ส่วนราชการประจำจังหวัด ประกอบด้วย สำนักงานจังหวัด และส่วนราชการประจำจังหวัดที่เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคและมีหน่วยงานในระดับอำเภอด้วย ได้แก่ ที่ทำการปกครองจังหวัด สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด สำนักงานประมงจังหวัด สำนักงานที่ดินจังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1.2 การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการประจำ จังหวัดตามข้อ 1.1 ให้พิจารณาครอบคลุมถึงทุกหน่วยงานที่อยู่ในสังกัดของส่วนราชการนั้นๆ

ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ กรณีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้นำข้อมูลผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลในสังกัด มาใช้ประกอบในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดด้วย โรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด อาจไม่จำเป็นต้องดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของตัวชี้วัดนี้ เนื่องจากโรงพยาบาลได้มีการนำระบบการรับรองคุณภาพของโรงพยาบาล (Hospital Accreditation : HA) มาใช้แล้วหรือจะนำมาใช้ต่อไป

ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 2. หากจังหวัดมีความประสงค์จะนำส่วนราชการประจำจังหวัดอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในข้อ 1.1 มาดำเนินการด้วย ให้เป็นไปตามความสมัครใจ

ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การประเมินผลตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก : ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 12 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของจังหวัด ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 4 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม 20

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาองค์การ จำนวน 2 แผน ซึ่งแต่ละแผนแบ่งการประเมินผลเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 12.1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 12.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 6 12

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 12.1.1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 4 8 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 1 และหมวด 4 ข้อที่ผ่านได้ 5 คะแนน ข้อที่ไม่ผ่านได้ 1 คะแนน ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณา โดยนำค่าคะแนนที่ได้ของแต่ละข้อมาคูณกับน้ำหนักความสำคัญของข้อนั้นๆ จะได้ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก แล้วรวมค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักที่ได้ของทุกข้อในแต่ละแผนฯ อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.1 และ 3.2

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เป็นรายหมวด จำนวน 2 แผน 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) 2552 2553 2554 จังหวัด เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 4 2 3 5 6

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) แผนที่ 1 แผนที่ 2 รวม 12.1.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ 2 4 12.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ (น้ำหนักร้อยละ 12) ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัดตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) (น้ำหนักร้อยละ 4) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.3

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553* (2 แผน) -

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร (15 คำถาม) 6 9 12 15 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 5

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 6

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การประเมินผล น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (2 แผน) - 12.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (น้ำหนักร้อยละ 4) พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของแผนพัฒนาองค์การแต่ละแผน การจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ให้จังหวัดประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวด 2 และหมวด 3 เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การในหมวดดังกล่าว กรณีจังหวัดที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 จะต้องจัดทำแผนฯเพิ่มเติมมาด้วย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7

การรายงานสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การรายงานสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ มีแนวทางดังนี้ 1. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ 2. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (หมวด 7) 3. ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รายงานค่าคะแนนของตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย รายงานค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย โดยการนำค่าคะแนนที่ได้ของแต่ละตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อยไปคูณกับน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อยที่กำหนดไว้ รายงานค่าคะแนนสุดท้ายของตัวชี้วัดโดยการรวมค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักของทุกตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ 3. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 6. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก

ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ประเมินองค์กรเทียบกับ เกณฑ์ฯ ในระดับพื้นฐาน 1 วิเคราะห์ OFI และแผนปรับปรุง ปี 51 ในหมวดบังคับและสมัครใจ จัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของ กระบวนการและผลลัพธ์ จัดทำแผนพัฒนาองค์การ 2 ดำเนินการ ปรับปรุง 3 รายงานผลการดำเนินการ 5 ตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก 6 PMQA Site-Visit ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐานเพื่อจัดทำแผนฯ ปี 53 4

ปฏิทินการดำเนินการ ครั้งที่ 1 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2551 2552 2553 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. จัดคลีนิกให้คำปรึกษาโดยสำนักงาน ก.พ.ร. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 - นำโอกาสในการปรับปรุงจากผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองและแผนปรับปรุงองค์กรของปีงบประมาณ พ.ศ. 251 มาทบทวนโดยเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ครั้งที่ 1 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงองค์กร ครั้งที่ 3 ติดตามผลการ ปรับปรุงและแนะนำ การตรวจประเมิน

ปฏิทินการดำเนินการ แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2551 2552 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2551 2552 2553 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. - จัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จำนวน 2 แผน 3. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ 4. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 5. ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 6. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดรอบ 6 เดือน และ 12 เดือน 7. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก ส่ง 30 ม.ค. 52 ส่ง 30 ม.ค. 52 ส่ง 30 ต.ค. 52

แบบฟอร์มที่ 1 และ 2 ภายในวันที่ 30 มกราคม 2552 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การส่งมอบงาน ส่วนราชการจัดส่งรายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จำนวน 4 ชุดข้อมูลบรรจุในแผ่นซีดีรอม จำนวน 2 แผ่น จำนวนที่กำหนดนี้ ได้รวมถึงการส่งเอกสารหลักฐานแนบตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ 12 เดือนด้วยแล้ว) ไปยังสำนักบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม สำนักงาน ก.พ.ร. แบบฟอร์มที่ 1 และ 2 ภายในวันที่ 30 มกราคม 2552 หากจัดส่งไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดจะปรับลดคะแนนจากผลคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้ 0.5000 คะแนน แบบฟอร์มที่ 3 - 8 ภายในวันที่ 30 ตุลาคม 2552

แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการ แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 4 แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ แบบฟอร์มที่ 5 แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร แบบฟอร์มที่ 6 แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน แบบฟอร์มที่ 7 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวอย่างกรม แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวอย่างกรม แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างกรม

การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มที่ 2 แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างกรม

การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มที่ 3 แบบฟอร์มรายงานผลการดำเนินการเมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ....................... ....................... ....................... ....................... .......................

การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มที่ 4 แบบฟอร์มรายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ

การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มที่ 5 แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร

การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มที่ 6 แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ....................... ....................... ....................... ....................... .......................

แผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มที่ 7 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ตัวอย่างกรม แผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553

การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มที่ 7 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

การรายงานผลตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตัวอย่างกรม

ขอขอบคุณ