ข้อเสนอ แนวทางการกำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง โดย นายเจษฎา ประกอบทรัพย์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม 2551 ห้องราชา โรงแรมปริ๊นซ์พาเลซ
แนวคิดการกำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง ปรัชญาการจ้างงานระยะยาวตลอดชีพ (lifetime employment) ระยะเวลาดำรงตำแหน่งในการสั่งสมประสบการณ์ที่จำเป็นสำหรับการดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น (expertise)
วิธีการกำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง พิจารณาคู่กับการกำหนดโครงสร้างบัญชีเงินเดือน พิจารณากำหนดระยะเวลาบนสมมุติฐานการเลื่อนเงินเดือนตามผลการปฏิบัติงานของผู้มีผลการปฏิบัติงาน “ดี” (4% ทุกรอบ) เป็นขั้นต่ำในการเข้าสู่ตำแหน่ง เทียบเคียงกับระยะเวลาดำรงตำแหน่งตามระบบปัจจุบัน กำหนดเป็นมาตรฐานกลางสำหรับทุกสายงานในแต่ละประเภท
ภาพแสดงทางก้าวหน้าของผู้จบการศึกษาปริญญาตรี กลุ่มดีเด่น กลุ่มดีมาก กลุ่มดี จำนวนปี (ปีละ 2 รอบ)
ข้อเสนอระยะเวลาดำรงตำแหน่ง ตำแหน่งประเภทวิชาการ 66,480 ทรงคุณวุฒิ 41,720 5 ปี 59,770 ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง 5 ปี หรือ เงินเดือนถึงค่ากลางของระดับก่อนเลื่อน เชี่ยวชาญ 29,900 5 ปี 50,550 ชำนาญการพิเศษ 21,080 36,020 5 ปี ชำนาญการ 14,330 กำหนดระยะเวลาตามคุณวุฒิทางการศึกษา และเงินเดือนถึงขั้นต่ำของระดับชำนาญการ ตรี 6 ปี โท 4 ปี เอก 2 ปี 22,220 ปฏิบัติการ 7,940 5
ภาพแสดงทางก้าวหน้าของผู้จบการศึกษา ปวช. กลุ่มดีเด่น กลุ่มดีมาก กลุ่มดี จำนวนปี (ปีละ 2 รอบ)
ข้อเสนอระยะเวลาดำรงตำแหน่ง ตำแหน่งประเภททั่วไป เงินเดือนถึงขั้นสูงของระดับอาวุโสและ มีคุณสมบัติของบุคคลตามที่กำหนด 59,770 ทักษะพิเศษ 48,220 47,450 อาวุโส ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง 6 ปี หรือ เงินเดือนถึงค่ากลางของระดับก่อนเลื่อน 15,410 6 ปี 33,540 ชำนาญงาน 10,190 ปวส 6 ปี ปวช 8 ปี ม.3 ม.6 10 ปี 18,190 กำหนดระยะเวลาตามคุณวุฒิทางการศึกษา และเงินเดือนถึงขั้นต่ำของระดับชำนาญงาน ปฏิบัติงาน 4,630 7
เหตุผลของการกำหนดระยะเวลาแทน การกำหนดค่ากลางของระดับก่อนเลื่อน ระดับปฏิบัติการ/ระดับปฏิบัติงานเป็นระดับแรกบรรจุ ซึ่งรับบรรจุจากหลายวุฒิการศึกษาทำให้อาจมี mp ที่แตกต่างได้ การกำหนด mp อาจมีปัญหาทางปฏิบัติ เช่น หากกำหนดอัตราแรกบรรจุวุฒิปริญญาเอกสูงกว่ากลางของกระบอกเงินเดือน เป็นระดับที่ต้องเรียนรู้งานและบริบทของภาคราชการ กำหนดว่าต้องเงินเดือนถึงขั้นต่ำของระดับชำนาญการ/ ชำนาญงาน เพื่อมิให้ผู้ที่ผลงานไม่ดีได้เงินเดือนก้าวกระโดด
ข้อเสนอระยะเวลาดำรงตำแหน่ง การเข้าสู่ตำแหน่งประเภทอำนวยการ 66,480 ทรงคุณวุฒิ 5 ปี 59,770 ระดับสูง 31,280 ประเภททั่วไป 41,720 59,770 2 เชี่ยวชาญ 59,770 ทักษะพิเศษ 50,550 ระดับต้น 25,390 2 ปี 29,900 48,220 5 ปี 50,550 ชำนาญการพิเศษ 47,450 8 ปี อาวุโส 3 ปี 21,080 6 ปี 15,410 ประเภทอำนวยการ 36,020 ชำนาญการ 33,540 ชำนาญงาน 14,330 10,190 22,220 ปฏิบัติการ 18,190 ปฏิบัติงาน สอบ ภาค ก. ประเภทวิชาการ 7,940 4,630 9
ข้อเสนอระยะเวลาดำรงตำแหน่ง ตำแหน่งประเภทอำนวยการและประเภทบริหาร 66,480 ระดับสูง 53,690 ประเภทอำนวยการ 3 ปี 2 ปี 59,770 ระดับสูง 31,280 64,340 ระดับต้น 48,700 1 ปี 2 ปี ประเภทบริหาร 50,550 ระดับต้น 25,390 3 ปี คงระยะเวลาการเข้าสู่ตำแหน่งบริหารปัจจุบัน 10
ข้อเสนอจำนวนปีในการเข้าสู่ตำแหน่ง 66,480 ระดับสูง 53,690 บริหาร อำนวยการ วิชาการ 2 3 66,480 64,340 ระดับต้น 48,700 ทรงคุณวุฒิ 5 59,770 ระดับสูง 31,280 41,720 5 1 59,770 เชี่ยวชาญ 5 2 3 29,900 50,550 ระดับต้น 25,390 5 2 ทั่วไป 50,550 59,770 ชำนาญการพิเศษ ทักษะพิเศษ 3 21,080 48,220 5 36,020 47,450 ชำนาญการ อาวุโส 8 6 14,330 การเลื่อนตำแหน่ง 15,410 ตรี 6 โท 4 เอก 2 22,220 33,540 6 ปฏิบัติการ ชำนาญงาน ตัวเลข คือ จำนวนปีระยะเวลาดำรงตำแหน่งที่จำเป็น 7,940 10,190 ปวส 6 ปวช 8 ม.3/6 10 18,190 ปฏิบัติงาน สอบภาค ก. 4,630 11