มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Knowledge Management (KM)
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
แนวคิด ในการส่งเสริมการอ่าน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ภาพรวมของหน่วยจัดการเรียนรู้
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
KM = Knowledge Management
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง High Performance Organization
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
LEARNING ORGANIZATION
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
บริษัทประกันภัย Hanover
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
ความหมายและความสำคัญ ในการนำ ICT มาใช้ในการเรียนรู้
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
Communities of Practice (CoP)
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
Participation : Road to Success
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
เราเป็นผู้นำ.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
สิ่งดีๆจากการทำงานแผน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน คุณอำนวย = ผู้เสริมพลังความรู้ (knowledge activist) มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน ระหว่างผู้มีความรู้/ประสบการณ์กับผู้ต้องการเรียนรู้ และนำความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ ศ.นพ.ประเวศ วะสี

เป้าหมาย 6 ประการของการเสริมพลังความรู้ ริเริ่มการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำให้พุ่งเป้า (focus) ลดเวลา ค่าใช้จ่ายในกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วทั้งองค์กร เพิ่มการยอมรับต่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยกิจกรรมต้องสอดคล้องกับเป้าหมายใหญ่ขององค์กร เตรียมผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่งานใหม่ เชื่อมโยงโลกทัศน์ของชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรึกษาหารือในองค์กร เพื่อการปรับเปลี่ยนองค์กรในภาพรวม

บทบาท 3 ประการของผู้เสริมพลังความรู้ เป็นผู้ “เติมพลัง” (catalyst) เป็นผู้ “ประสานเชื่อมโยง” (coordinator) เป็น “นักขายภาพอนาคต” (merchant of foresight)

การประสานเชื่อมโยงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 มิติ เชื่อมชุมชนจุลภาค (micro community) อาจเป็นชุมชนภายในหน่วยงานย่อย/ข้ามหน่วยงานที่ รวมตัวกันตามธรรมชาติด้วย ปัญหา งาน ความสนใจฯ ทำให้มีการรวมตัวเป็นรูปธรรม มีการพบปะสม่ำเสมอมากขึ้น เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์/ความรู้ฝังลึก (tacit knowledge) อย่างพุ่งเป้ามากขึ้น เชื่อมเป้าหมายแต่ละ ชุมชนให้เข้ากับเป้าหมายภาพรวมขององค์กร

การประสานเชื่อมโยงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 มิติ 2. เชื่อมชุมชนจินตนาการ (Imagined Community) หน่วยงาน/บุคคลที่ไม่เคยพบปะกัน แต่มีจุดร่วมที่จินตนาการ ความเชื่อ เป้าหมายเกี่ยวกับงาน จัดทำการนำเสนอ “เรื่องเล่าเร้าพลัง” (storytelling) ที่กระตุ้นแรงบันดาลใจร่วมกัน มีเนื้อหาสาระ มีคุณค่าต่องาน

การประสานเชื่อมโยงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 มิติ 3. เชื่อมด้วย “แผนที่/แผนผัง” (map) แสดงถึงการจัดการความรู้/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ว่าใคร กลุ่มใด ทำอะไร อยู่ที่ไหน เพื่อเชื่อมโยงภาพเชิงซ้อนที่มีความซับซ้อนและปรับตัว (complex and adaptive) ตลอดเวลา เพื่อรับรู้/ค้นหาได้ เช่น 1) organigram แสดงตำแหน่งของกลุ่มต่างๆ 2) ตารางการจัดการ (project management tool)โครงการฯ แผนที่ต้องน่าสนใจ เข้าใจง่าย แสดงให้เห็นว่าแต่ละชุมชนมีส่วนขับเคลื่อนการจัดการองค์ความรู้ขององค์กรอย่างไรบ้าง แผนที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามสถานภาพขององค์กรและการจัดการความรู้ในองค์กร

นักขายภาพอนาคต (merchant of foresight) ทำหน้าที่ชักชวน ใช้คำถาจี้จุดให้ชุมชนจุลภาคมองเห็นภาพใหญ่ขององค์กร มองเห็นฉากสถานการณ์อนาคต (scenarios) หลายๆแบบ และเชื่อมโยงสู่กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สู่ความร่วมมือ เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้แก่องค์กรในภาพรวม

การเสริมพลังความรู้ ทำให้กลุ่มเชื่อมโยงกันเอง ไม่ใช่เชื่อมโยงกับเรา เติมพลัง ประสานเชื่อมโยงและขายภาพอนาคตให้ผู้สนใจ สนใจต่อความรู้สึกและความต้องการของชุมชนอนุภาคต่างๆ อดทน มั่นคง มุ่งสร้างความเชื่อมั่น สื่อสารกับชุมชนผ่านการสนทนาแลกเปลี่ยน dialogue และการตั้งคำถาม

การจัดการความรู้/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่แท้จริง อยู่ที่ทุกคน/ทุกหน่วยภายในองค์กร ไม่ใช่หน้าที่ของผู้เสริมพลังความรู้

ผู้เสริมพลังความรู้ Knowledge activist เจ้าหน้าที่ความรู้ Knowledge officer เสริมพลังความรู้ - เติมพลัง ประสานเชื่อมโยง ขายภาพอนาคต - ให้อำนาจ/เพิ่มขีดความสามารถ - ไม่ใช้การควบคุม/กำหนด - เน้นการกระตุ้น สร้างการแลกเปลี่ยน

ความรู้ คือสิ่งที่ไม่จีรังยั่งยืน มีลักษณะจำเพาะตามบริบท มีการเปลี่ยนแปลงเป็นพลวัต

การควบคุมความรู้ If Don’t If Do จะทำให้เน้นความรู้ที่ชัดเจนและเป็นความรู้ที่มีอยู่แล้ว เป็นอุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ If Don’t นำสู่ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เกิดบรรยากาศเสริมพลังและสร้างความเข้มแข็งขององค์กร

ทักษะของผู้เสริมพลังความรู้ เติมพลัง สร้างแรงจูงใจ มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น เป็นที่เคารพเชื่อถือ พัฒนาทั้งงานและความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ช่วยกลุ่มในการเขียนข้อกำหนดภารกิจและความรับผิดชอบของกลุ่ม สร้างเครือข่ายสังคมภายในและภายนอกองค์กร เสริมความเข้าใจด้านการดำเนินการเชิงธุรกิจ ผลิตภัณฑ์หลักด้านการตลาด

ทักษะของผู้เสริมพลังความรู้ 2. ประสานเชื่อมโยง - สร้างความรู้ความเข้าใจพัฒนาการเชิงประวัติศาสตร์ขององค์กร - สร้างการแกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาข้อมูล - จัดทำแผนที่/แผนผัง (map) แสดงกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - สามารถระบุความเชื่อมโยงระหว่างกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างๆ - ประสานเครือข่ายสังคมภายในและภายนอกองค์กร

ทักษะของผู้เสริมพลังความรู้ 3. ขายภาพอนาคต - เป็นทูตวิสัยทัศน์ขององค์กร - นำเสนอเครื่องมือด้านกลยุทธ์และการวิเคราะห์ - สร้างความเข้าใจภาพกว้างของกระบวนการเชิงกลยุทธ์ขององค์กร - สร้างแรงจูงใจและสามารถขายความคิดได้ - มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีมุมมองกว้างไกล