การจัดทำงบประมาณ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
รัฐธรรมนูญฯ ม. 78 : รัฐต้องดำเนินการ 1. ข้อกำหนดตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญฯ ม. 78 : รัฐต้องดำเนินการ จัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น และสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อการพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฯ 2550 ม. 52 : การบริหารงานแบบบูรณาการ จว.หรือกลุ่มจว. ยื่นคำขอจัดตั้งงบประมาณได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขกำหนดในพ.ร.ฎ. จว.หรือกลุ่มจว. เป็นส่วนราชการตาม กฎหมายวิธีการงบประมาณ
ม. 52/1 ให้จังหวัดมีอำนาจภายในเขตจังหวัด ดังต่อไปนี้ (1) นำภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (2) ดูแลให้การปฎิบัติและบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยและเป็นธรรมในสังคม (3) จัดให้มีการคุ้มครอง ป้องกัน ส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนและชุมชนที่ด้วยโอกาส เพื่อให้ได้รับความเป็นธรรมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมในการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง
(4) จัดให้มีการบริการภาครัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสมอหน้า รวดเร็วและมีคุณภาพ (5) จัดให้มีการส่งเสริม อุดหนุน และสนับสนุนอปทเพื่อให้สามารถดำเนินการตามอำนาจและหน้าที่ของอปท. และให้มีขีดความสามารถพร้อมที่จะดำเนินการตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนจากกระทรวง ทบวง กรม (6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ ค.ร.ม. กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นของรัฐมอบหมาย หรือที่มีกฎหมายกำหนด เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ของจว. ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐที่ประจำอยู่ในเขตจว.ที่จะต้องปฏิบัติให้สอดคล้องและเป็นไปตามแผนพัฒนาจว.ตามมาตรา 53/1
ม.53/1 จว. จัดทำแผนพัฒนาจว. สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระดับชาติ ความต้องการของประชาชน ในการจัดทำแผนพัฒนาจว. ให้ผู้ว่าฯ จัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจว.(ราชการส่วนภูมิภาค หรือราชการบริหารส่วนกลาง และผู้บริหารอปท.ทั้งหมดในจว. รวมทั้งผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน) เมื่อมีการประกาศใช้แผนพัฒนาจว.แล้ว การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของอปท. และการดำเนินกิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทำในพื้นที่จว.ต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจว.ดังกล่าว
ม. 53/2 : ให้นำความใน ม. 53/1 มาใช้กำกับการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจว.ด้วย ม. 57 : ให้ผู้ว่าฯ มีอำนาจหน้าที่ (6) เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง หรือ เสนอขอจัดตั้งงบประมาณต่อสำนักงบประมาณ
2. ร่างพ.ร.ฎ.ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ หลัก การ 1. จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด 2. จัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 3. จัดทำงบประมาณจังหวัด 4. จัดทำงบประมาณกลุ่มจังหวัด
กำหนดหลักการการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เหตุผล กำหนดหลักการการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2550 (ฉบับที่ 7) มาตรา 53/1 ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจว. ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในพ.ร.ฎ. มาตรา 53/2 กำหนดให้นำหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวมาใช้กับการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจว.ด้วยโดยอนุโลม มาตรา 52 วรรคสาม กำหนดให้จว.หรือกลุ่มจว.ยื่นคำขอจัดตั้ง งบประมาณได้และให้ถือว่าจว.หรือกลุ่มจว.เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในพ.ร.ฎ.
จังหวัด : จังหวัดตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ไม่รวมกทม. ประกอบด้วย 5 หมวด 23 มาตรา ความ หมาย กลุ่มจังหวัด : กลุ่มจังหวัดที่จัดตั้งตาม ม. 26
ก.น.จ. : คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจว.และกลุ่มจว.แบบบูรณาการ ประกอบด้วย 5 หมวด 23 มาตรา มีกลไก 3 ระดับ ก.บ.จ. : คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ก.บ.ก. : คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
แผนพัฒนาจังหวัด :รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ ของจว แผนพัฒนาจังหวัด :รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ ของจว.ที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของจว.ในอนาคต ความ หมาย แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด :รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ ของกลุ่มจว.ที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจว.ในอนาคต
แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด : แผนที่แปลงแผนพัฒนาจังหวัดสู่การปฏิบัติโดยระบุถึงโครงการต่างๆ ที่จำเป็นต้องดำเนินการในจังหวัดในแต่ละปีงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ทั้งนี้ ไม่ว่าโครงการนั้นจะดำเนินการโดยจังหวัด กระทรวง ทบวง กรม อปท. หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน ความ หมาย
แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด : แผนที่แปลงแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดสู่การปฏิบัติโดยระบุถึงโครงการต่างๆ ที่จำเป็นต้องดำเนินการในกลุ่มจังหวัดในแต่ละปีงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด ทั้งนี้ ไม่ว่าโครงการนั้นจะดำเนินการโดยจังหวัด กลุ่มจังหวัดกระทรวง ทบวง กรม อปท. หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน ความ หมาย
งบประมาณจังหวัด :รายการงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่จังหวัดยื่นคำขอจัดตั้งต่อสำนักงบประมาณเพื่อดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด ความ หมาย งบประมาณกลุ่มจังหวัด :รายการงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่กลุ่มจังหวัดยื่นคำขอจัดตั้งต่อสำนักงบประมาณเพื่อดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด
กลไก 3 ระดับ ระดับชาติ ระดับกลุ่มจว. ระดับจว. กลไก 3 ระดับ ระดับชาติ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ : ก.น.จ. ระดับกลุ่มจว. คณะกรรมกาบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ : ก.บ.ก. ระดับจว. คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ : ก.บ.จ.
1. กำหนดกรอบนโยบายและวางระบบในการบริหารงานจว.และกลุ่มจว. คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ : ก.น.จ. มีอำนาจ 1. กำหนดกรอบนโยบายและวางระบบในการบริหารงานจว.และกลุ่มจว. ประกอบด้วย 5 หมวด 23 มาตรา 2. กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดทำแผนพัฒนาจว. แผนพัฒนากลุ่มจว. แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจว. และแผนปฎิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจว. 3. พิจารณา กลั่นกรอง และให้ความเห็นชอบ 1) แผนพัฒนาจว. แผนพัฒนากลุ่มจว. แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจว. และแผนปฎิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจว. 2) คำของบประมาณของจว.และกลุ่มจว. ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ เสนอ ค.ร.ม.
4. กำกับดูแลการดำเนินการ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ 5. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามที่มอบหมาย (อย่างน้อยต้องมีคณะอนุกรรมการด้านแผน และด้านงบประมาณ) 6. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ :ก. บ. ก คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ :ก.บ.ก. อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ เช่น จัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดเสนอต่อที่ประชุมตามมาตรา 19 เพื่อรับฟังความคิดเห็น วิเคราะห์ บูรณาการ และให้ความเห็นชอบรายละเอียดการปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด และคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด ก่อนนำเสนอต่อ ก.น.จ. กำกับ ให้คำแนะนำ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด และรายงาน ก.น.จ.
คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ :ก.บ.จ. มีอำนาจหน้าที่สำคัญ เช่น คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ :ก.บ.จ. มีอำนาจหน้าที่สำคัญ เช่น จัดทำแผนพัฒนาจังหวัดเสนอต่อที่ประชุม (ตามม. 19) เพื่อรับฟังความคิดเห็น วิเคราะห์ บูรณาการ และจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดและคำของบประมาณจังหวัด ก่อนนำเสนอ ต่อ ก.น.จ. กำกับ ให้คำแนะ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และรายงาน ก.น.จ. เป็นต้น
ก.น.จ. ก.บ.ก./ก.บ.จ. ก.น.จ. ค.ร.ม. สำนักงบประมาณ สงป. : กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด จัดทำและบริหารงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ก.น.จ. : รับนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทำ จาก ก.น.จ. จัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด /จังหวัด เสนอต่อที่ประชุมตามมาตรา 19 เพื่อฟังความคิดเห็น วิเคราะห์ บูรณการ และให้ความเห็น: - รายละเอียดการปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัด /แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด - คำของบประมาณกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ก.บ.ก./ก.บ.จ. ก.น.จ. พิจารณา กลั่นกรอง ให้ความเห็นชอบ และเสนอ ค.ร.ม. ค.ร.ม.เห็นชอบแล้ว ก.น.จ.ส่ง สงป. ค.ร.ม. พิจารณา ให้ความเห็นชอบ สำนักงบประมาณ
จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ( 4 ปี) ระบุ: รายละเอียดวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ KPI ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ความต้องการของประชาชน ศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด ความต้องการของชุมชน ความพร้อมของภาครัฐ/ภาคธุรกิจเอกชน ให้ผู้ว่าฯ จัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วม เพื่อรับฟังความคิดเห็น หัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจว. หรือมีเขตอำนาจหน้าที่ในจว. หัวหน้าหน่วยงานที่เป็นรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นของรัฐ บรรดาที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจว.หรือมีเขตอำนาจหน้าที่ในจว. ผุ้บริหารอปท.ทั้งหมดในจว. ผู้แทนภาคประชาสังคม/ธุรกิจเอกชน ยุทธศาสตร์ระดับชาติ
องค์ประกอบคำของบประมาณจังหวัดฯ เช่น 3. องค์ประกอบคำของบประมาณจังหวัดฯ เช่น 3. วิสัยทัศน์จังหวัด พันธกิจ ความสอดคล้องกับแผนการบริหาราชการแผ่นดิน นโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์การจัดสรร แผนงาน เป้าหมายการให้บริการจังหวัด กลยุทธ์จังหวัด ผลผลิต (กลุ่มโครงการ) กิจกรรม KPI แหล่งเงิน(งบประมาณ-งบรายจ่าย: รายละเอียดงบรายจ่าย) ประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework:MTEF)
ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบการจัดทำและส่งคำของบประมาณจังหวัด ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( e – budgeting)
ข้อควรคำนึง: การจัดทำคำของบประมาณ 4. รัฐธรรมนูญ ม. 167 ร่างพ.ร.บ. งบประมาณ แลเอกสารประกอบ วัตถุประสงค์ กิจกรรม แผนงาน โครงการ รายการ รัฐธรรมนูญ ม. 169 วรรค 3 การโอนเปลี่ยนแปลงรายการให้รายงานรัฐสภาทราบทุก 6 เดือน ภารกิจของจังหวัด อำนาจและหน้าที่ (พ.ร.บ. ระเบียบบริหารฯ ม. 52/1) การมอบอำนาจ(พ.ร.ฎ.ว่าด้วยการมอบอำนาจ)
5. ขั้นตอนการวางแผนและบริหารโครงการ 1. บทวน/ตรวจสอบ/ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ( Review Phase) 2. ริเริมโครงการใหม่และการวิเคราะห์เบื้องต้น (Conceptual Phase) 3. วิเคราะห์และวางแผนรายละเอียดโครงการ (Project Planning Phase) 5. ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการ (Implementation Monitoring Phase) 6. ประเมินผลการใข้งานและติดตาม/ปรับปรุง/แก้ไข (Utilization Phase) 4.วิเคราะห์และจัดทำคำของบประมาณ (Budget Preparation Phase)
ขั้นตอนการวางแผนและบริหารโครงการ ทบทวน/ตรวจสอบ - สถานภาพของโครงการ - ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่เกิดขึ้น - กลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข 1. ทบทวน/ตรวจสอบ/ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา พิจารณาตัดสินใจ ได้แก่ - เลือกดำเนินโครงการต่อโดยอาจคงแผนเดิมไว้ - ปรับปริมาณ และ/หรือปรับคุณภาพ - ยกเลิกโครงการ - ขยายผลโครงการ
2. การริเริ่มโครงการใหม่ พิจารณาที่มาและความสำคัญของโครงการ ลักษณะของโครงการ (กายภาพ/บริหาร/บริหารจัดการ) ระบุกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้เสีย แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชน ความถูกต้องทางจริยธรรและความเป็นธรรมในสังคม ระบุเป้าหมาย ผลผลิต คาดการณ์ผลลัพธ์ หรือผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พิจารณาผลกระทบต่อโครงการหรือกิจกรรมอื่นที่มีอยู่แล้ว วิเคราะห์ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ความสมเหมาะเชิงเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต ระบุทางเลือกอื่นและวิเคราะห์ความเหมาะสมของเทคโนโลยี วิเคราะห์ความเหมาะสมของระยะเวลา กระบวนการ และวิธีการดำเนินการเบื้องต้น พิจารณาศักยภาพและข้อจำกัดของพื้นที่ พิจารณาความพร้อมและความเพียงพอของทรัพยากรและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ศักยภาพและความเหมาะสมของหัวหน้าโครงการและทีมงาน 2. การริเริ่มโครงการใหม่ และ การวิเคราะห์เบื้องต้น
3 . การวิเคราะห์และวางแผนราย ละเอียดโครงการ พิจารณาขอบเขตของโครงการ (1.มิติเชิงปริมาณ และคุณภาพของผลผลิต 2. มิติเชิงพื้นที่ตั้งโครงการ 3. มิติเชิงพื้นที่ให้บริการ) วิเคราะห์รายละเอียดโครงสร้างผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบของโครงการ และประโยชน์ต่อสาธารณชน พิจารณา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์/ทบทวนความคุ้มค่าของโครงการ ความน่าเชื่อถือของสมมุติฐาน และผลประโยชน์โครงการทางเศรษฐกิจ ระบุทางเลือก วิเคราะห์เปรียบเทียบและตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต วิเคราะห์รายละเอียด ศักยภาพ และข้อจำกัดของพื้นที่ วิเคราะห์แผนและความพร้อมในการใช้ทรัพยากรบุคคล ประมาณราคาและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินกิจกรรม วิเคราะห์ความเสี่ยงและแผนการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น วิเคราะห์ต้นทุน และทบทวน/เปรียบเทียบกับโครงการอื่นที่ใช้ผลผลิต และกิจกรรมในลักษณะเดียวกัน 3 . การวิเคราะห์และวางแผนราย ละเอียดโครงการ
4. การวิเคราะห์และจัดทำคำของบ ประมาณ การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการพิจารณาในขั้นตอนที่ผ่านมา เพื่อจัดทำลำดับความสำคัญของโครงการตามมิติต่างๆ พิจารณา จัดทำคำของบประมาณที่สมเหตุสมผลบนพื้นฐานของความถูกต้องและความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณเป็นสำคัญ 4. การวิเคราะห์และจัดทำคำของบ ประมาณ
5. การติดตามความก้าว หน้าของการดำเนินโครงการ จัดทำอนุมัติแผนปฏิบัติการแลแผนงบประมาณ พิจารณาความคืบหน้าตามแผนปฏิบัติการ แผนงานงบประมาณ และระยะเวลาดำเนินงาน สรุปผลการติดตามปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไข และบทเรียน ประเมินผลผลิตและกระบวนการบริหารจัดการผลผลิต ประเมินผลลัพธ์และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย ติดตามผลกระทบ/การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งทางบวกและทางลบ สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้ไข และบทเรียนเพื่อนำไปสุ่การปรับปรุงโครงการอื่นๆ ในอนาคตต่อไป 6. การประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ปรับปรุง/แก้ไข
ขอบคุณ