บทบาทหน้าที่ของ อาจารย์ที่ปรึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
Advertisements

การปฏิบัติหน้าที่ของครูที่ปรึกษา
10 วิธี ดูแลลูกยุคไซเบอร์
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
กิจการนิสิต (Student Affairs)
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
RECRUITMENT.
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษามืออาชีพด้วยศาสตร์การให้คำปรึกษา
การสื่อสารเพื่อการบริการ
ความเห็นจากครูแพทย์ (เก่า) คนหนึ่ง
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
สุขภาพจิต และการปรับตัว
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
มนุษยสัมพันธ์ กับการทำงานเป็นทีม.
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
จรรยาบรรณครู จรรยาบรรณข้อที่ 1 ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้ กำลังใจใน การศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า จรรยาบรรณข้อที่
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
สมรรถนะการทำงาน ดร. จักรพงศ์ สุวรรณรัศมี.
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
( Human Relationships )
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ความเป็นครู.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทหน้าที่ของ อาจารย์ที่ปรึกษา

บทบาทของอาจารย์มหาวิทยาลัย สอน วิจัย บริการวิชาการแก่สังคม ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

อาจารย์ผู้รับผิดชอบที่มหาวิทยาลัย มอบหมายโดยตรง ให้ทำหน้าที่ในการ -ป้องกัน -แก้ไข -ช่วยเหลือ นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา

อาจารย์ที่ปรึกษา

บทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา 1. ด้านวิชาการ ด้านหลักสูตร การวางแผนการเรียน การลงทะเบียนให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของหลักสูตร วิธีการเรียน การศึกษาค้นคว้า ติดตามผลการเรียนของนักศึกษา วิธีการคิดค่าระดับคะแนน แนวทางการประกอบอาชีพ/การศึกษาต่อ

บทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา(ต่อ) 2. ด้านพัฒนานักศึกษา สวัสดิการ และบริการ หอพัก ทุน งานพิเศษนอกเวลา การดูแลสุขภาพ การเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษา ฯลฯ

บทบาทหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา(ต่อ) 3. เป็นที่ปรึกษาด้านอื่น ๆ - การยื่นคำร้องต่าง ๆ - ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษา - สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับนักศึกษา รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมอันดีงาม - หาแนวทาง/วิธีการแก้ไขปัญหาของนักศึกษา

กิจกรรม ย้อนรอยอดีต จับกลุ่มตามสภาพภูมิศาสตร์ กลุ่มละ 5 คน เลือกประธานและเลขากลุ่ม ประธานรับใบงาน กลุ่มละ 1 ชุด ดำเนินการตามรายละเอียดในใบงาน

กลุ่ม 1 ประสบการณ์เมื่อครั้งเป็นน.ศ. และได้รับความช่วยเหลือจาก นำเสนอผลงานของกลุ่ม กลุ่ม 1 ประสบการณ์เมื่อครั้งเป็นน.ศ. และได้รับความช่วยเหลือจาก อาจารย์

จากกิจกรรมย้อนรอยอดีต.. ความรู้สึกของนศ.ที่ได้รับความช่วยเหลือ จากอาจารย์

จากกิจกรรมย้อนรอยอดีต.. คุณลักษณะของอาจารย์ที่นักศึกษารับรู้ว่า รัก เต็มใจและยินดีช่วยเหลือเขา ยิ้มแย้มแจ่มใส มีท่าทีเป็นมิตรและอบอุ่น แสดงความเต็มใจช่วย มีจิตเมตตา ใจกว้าง รับฟัง รักและเข้าใจ ใจเย็น สงบเยือกเย็น มีความรู้ เข้าใจธรรมชาติของวัยรุ่นและสังคม แต่งกายสุภาพ เหมาะสม

กลุ่มที่ 2 ประสบการณ์ในการช่วยเหลือนักศึกษา นำเสนอผลงานของกลุ่ม กลุ่มที่ 2 ประสบการณ์ในการช่วยเหลือนักศึกษา

จากกิจกรรมย้อนรอยอดีต.. ความรู้สึกของอาจารย์ที่ได้ช่วยเหลือนักศึกษา มลม ม ความรู้สึกของอาจารย์ที่ได้ช่วยเหลือนักศึกษา ข

กลุ่มที่ 3 ความกังวลใจ/หนักใจในการช่วยเหลือนักศึกษา นำเสนอผลงานของกลุ่ม กลุ่มที่ 3 ความกังวลใจ/หนักใจในการช่วยเหลือนักศึกษา

จากกิจกรรมย้อนรอยอดีต.. ความกังวลใจ/หนักใจในการช่วยเหลือนักศึกษา นศ.ไม่มาหา ไม่มีเวลา ไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไรให้นศ. ไว้ใจและเล่าปัญหาให้ฟัง ไม่รู้จะช่วยอย่างไร ฯลฯ ข

ลักษณะงานของอาจารย์ที่ปรึกษา ในมหาวิทยาลัย

ลักษณะงานของอาจารย์ที่ปรึกษา ในมหาวิทยาลัย 1.รวบรวมข้อมูลของนักศึกษาเพื่อรู้จักเข้าใจ เป็นรายบุคคล: รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลของนักศึกษาจาก การสัมภาษณ์ สังเกต แบบสอบถาม แบบวัด แบบประเมินและเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ -ด้านความสามารถ ความถนัดและความสนใจ -ด้านสุขภาพกายและจิต -ด้านครอบครัว

ลักษณะงานของอาจารย์ที่ปรึกษา ในมหาวิทยาลัย 2.รวบรวม สังเคราะห์และให้ : ข้อมูล/ข่าวสารเกี่ยวกับการศึกษาและข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลการปรับตัว บุคลิกภาพ สุขภาพกายและจิต ข้อมูล/ข่าวสารด้านอาชีพ การฝึกงาน ตำแหน่งงานว่างในตลาดแรงงานที่เหมาะกับความรู้ ความสามารถ ความสนใจและค่านิยมของนักศึกษา

ลักษณะงานของอาจารย์ที่ปรึกษา ในมหาวิทยาลัย 3. ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการเรียน การปรับตัว การทำงานพิเศษระหว่างเรียน การเลือกอาชีพ 4. ส่งต่อนักศึกษาไปยังบุคคล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและนอกมหาวิทยาลัย 5. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และติดตามผลดำเนินงาน เพื่อประเมินการปฏิบัติงาน

ลักษณะงานของอาจารย์ที่ปรึกษา ในมหาวิทยาลัย 6. มีส่วนร่วมในการ : วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งในและนอกองค์กร(ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนานักศึกษา) กำหนดกลยุทธ์(ด้านการพัฒนานักศึกษา)ที่เหมาะสมกับองค์กร นำกลยุทธ์ (ด้านการพัฒนานักศึกษา) ไปประยุกต์/ปฏิบัติ ควบคุมประเมินผลการดำเนินงาน (ด้านการพัฒนานักศึกษา) ขององค์กร

เป้าหมายในการดูแลช่วยเหลือ นักศึกษา 1. รู้สึกดี เห็นคุณค่าในตน 2. มีเอกลักษณ์ด้านบวก 3. มีพัฒนาการทางกาย/จิตใจเหมาะสม 4. สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น 5. รู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเพื่อน/สาขา/คณะ/มหาวิทยาลัย/สังคม

จรรยาบรรณของอาจารย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 1.รักและเมตตาต่อศิษย์โดยเสมอหน้า 2.อบรม สั่งสอน สร้างเสริมทักษะและนิสัยที่ถูกต้องอย่างเต็มความสามารถและบริสุทธิ์ใจ 3.ประพฤติและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งกาย วาจา ใจ 4.ไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคมของศิษย์

จรรยาบรรณของอาจารย์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี(ต่อ) 5.ไม่แสวงหาประโยชน์จากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ 6.พัฒนาตนทั้งวิชาชีพ บุคลิกภาพ วิสัยทัศน์ให้ทันต่อ พัฒนาการทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองเสมอ 7.รักและศรัทธาในวิชาชีพอาจารย์และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร 8.อนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

ความคาดหวังของอาจารย์ที่มีต่อนักศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง/อยู่ในเกณฑ์ที่จะสำเร็จการศึกษา มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ : -กระตือรือร้น ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ ใฝ่สัมฤทธิ์ -ขยัน อดทน -รับผิดชอบ -มีระเบียบวินัย ควบคุมตน -เสียสละ -สุภาพ อ่อนน้อม มีสัมมาคาวะ -ฯลฯ

นักศึกษาคาดหวังอะไรจาก อาจารย์ที่ปรึกษา ใกล้ชิดให้มาก ตั้งกฎเกณฑ์ให้น้อย ให้เวลาในการพูดคุยและ รับฟัง ชมเมื่อทำดี เลี่ยงการตำหนิ ยอมรับความผิดพลาดและให้โอกาส

เทคนิค “6 อย่า” จู้จี้ จับผิด ท้าวความ อำนาจบังคับ ลงโทษรุนแรง ประจาน

ปัจจัยที่ทำให้การดูแลช่วยเหลือนักศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ ความสนิทสนม/คุ้นเคย ความไว้วางใจ ความรัก/ศรัทธา/ชื่นชม ฯลฯ

ปัจจัยที่ทำให้นักศึกษาเกิด.. ความสนิทสนมไว้วางใจ รักและศรัทธาอาจารย์ เป็นกันเอง รับฟัง ให้เวลา ให้โอกาส หวังดีและช่วยด้วยความจริงใจ ให้เกียรติ ให้กำลังใจ

การช่วยเหลือ/แก้ไขพฤติกรรม ที่เป็นปัญหาของนักศึกษา พูดย้ำถึงความผิดพลาด(เก่าๆ )ซ้ำๆ บ่น/ตำหนิ/ตัดสิทธิ/หักคะแนน เปรียบเทียบกับนศ.อื่นๆ ขู่ (แล้วไม่ได้ทำตามที่ขู่) ปรามาส  ดูถูกให้ได้อาย โดยหวังว่าจะฮึดสู้  มีมานะและแก้ไขตนเอง แสดงความโกรธ: ไม่พูดด้วย  ไม่สนใจ  ไม่ส่งเสริม โดยหวังว่า นศ.จะสำนึกและปรับปรุงตนเอง

การช่วยเหลือ/แก้ไขพฤติกรรม ที่เป็นปัญหาของนักศึกษา เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกศิษย์  ใช้กิจกรรมช่วย: กีฬา  ดนตรี  ศิลปะ  กิจกรรมกลุ่ม ให้เพื่อนและผู้เกี่ยวข้องช่วย(เพื่อน อาจารย์ท่านอื่น แฟน ฯลฯ) ชมเชยเมื่อทำได้ดี เมื่อนักศึกษาทำผิด  หาวิธีตักเตือน  ชักจูงให้อยากเปลี่ยนแปลง ตนเองให้ดีขึ้น จัดสิ่งแวดล้อมในมหาวิทยาลัย/ชุมชนให้เหมาะสม  ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา

การช่วยเหลือ/แก้ไขพฤติกรรม ที่เป็นปัญหาของนักศึกษา สร้างความสัมพันธ์ที่ดี รับฟังปัญหาด้วยท่าทีเป็นกลาง ไม่ตำหนิหรือ สั่งสอนเร็วเกินไป  มองนศ.ในแง่ดี  มีความหวังในการแก้ปัญหาเสมอ หาข้อมูลเพื่อให้รู้สาเหตุ  และแนวทางการแก้ไข กระตุ้นให้นศ.คิดแก้ปัญหาเอง  ให้ได้หลายๆวิธี ช่วยวิเคราะห์ทางเลือกร่วมกัน แล้วให้นศ.ตัดสินใจเลือก ชี้แนะทางแก้ไขปัญหาในกรณีที่เด็กคิดไม่ออก ให้กำลังใจ ความมั่นใจว่าปัญหาจะคลี่คลาย การให้คำปรึกษา : Counseling

นักศึกษาคาดหวังให้ อาจารย์เป็นแบบนี้? ต่อไปนี้ผมจะไม่โดดเรียนอีก ถ้าอาจารย์สวยๆแบบนี้มาสอน