IP Address เป็นหมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย หน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่จัดสรร คือ InterNIC (Internet Network Information Center) ปัจจุบันเป็นเวอร์ชัน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

การติดตั้งการทำงานบนระบบ Network และการใช้งานขั้นสูง
IT Central Library KMITL
วิธีการตั้งค่าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในระบบเครือข่าย
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
TCP/IP Protocols IP Addressing
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
อินเตอร์เน็ต (Internet)
บทที่ 6 อินเตอร์เน็ต ความเป็นมา.
ระบบอินเทอร์เนตในโรงเรียนที่ผู้ใช้ไม่เกิน 1000 คน
ARP (Address Resolution Protocol)
Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School
ระบบ Internet , Intranet สรส. จากคณะกรรมการพัฒนาระบบ LAN สรส
Kulachatr Chatrkul Na Ayudhya Introduction to e-Commerce
Firewall IPTABLES.
สรุปประเด็นการทำ Firewall
Domain Name Apirada Thadadech 4/4/2017 Domain name.ppt.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
ทบทวนความเข้าใจ.
อินเทอร์เน็ต และการใช้งาน
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
สิ่งที่ควรรู้ WAN = Wide Area Network ระบบเครือข่ายระดับกว้างไกล
อินเทอร์เน็ต (Internet)
IP Address / Internet Address
ภาพรวมระบบเครือข่าย
วิธีคำนวณการแบ่ง Subnet
คอมพิวเตอร์ ร.ร.จักรคำคณาทร
อินเทอร์เน็ตInternet
เรื่องความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
เรื่อง โดเมนเนม โดเมนเนม.
Network Address Translation (NAT)
Internet.
CH 9 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
Chapter 4 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
Protocol ทำเราท์เตอร์เป็นเซิร์ฟเวอร์แจกไอพี Dynamic Host Configuration
Translation Network Address แปลงไอพีบนเฮดเดอร์ด้วย 13 05/04/60
รายวิชา การออกแบบเว็บไซต์
ภาระกิจด้านสารสนเทศ สำนักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Doma in สากล Domai n ใน ไทย ย่อมาจากความหมาย.com.co.thCommerce of Thailand องค์กรธุรกิจ ภาคเอกชนใน ประเทศไทย.gov.go.thGovernment of Thailand.
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
IP ADDRESS.
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น ครู โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และเครือข่าย
ระบบชื่อเว็บไซต์. URL(Universal Resource Locators or Uniform Resource Locators ) ที่อยู่ของแหล่งข่าวสารที่เป็นสากล รูปแบบมาตรฐานของ URL เป็นดังนี้ scheme://host:port/path.
ISP ในประเทศไทย
ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต
Domain Name System   (DNS).
© 2007 Cisco Systems, Inc. All rights reserved.Cisco Public 1 Client/Server Architecture หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญระบบโครงข่ายการศึกษาขั้น พื้นฐาน (OBEC Network)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
NontriNet CA RapidSSL CA
Virtualization and CentOS Installation
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1 LAN Implementation Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology Naresuan University, Phayao Campus.
อินเทอร์เน็ต ( Internet )
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.1 ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต by krupangtip
ใบสำเนางานนำเสนอ:

IP Address เป็นหมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย หน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่จัดสรร คือ InterNIC (Internet Network Information Center) ปัจจุบันเป็นเวอร์ชัน 4 (IPV4) มีทั้งหมด 32 บิต โดยเขียนในรูปเลขฐานสิบ 4 ตัว คั่นด้วยเครื่องหมายจุด เช่น 203.155.20.5 โดยหมายเลข IP จะประกอบด้วยกันสองส่วนหลักคือ Network Address หรือ Network ID และ Host Address หรือ Host ID Network ID Host ID เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เปลี่ยนแปลงได้

Class ของ IP Address แบ่งได้ 5 Class ด้วยกัน ที่ใช้จริงในปัจจุบันมีอยู่ 3 Class คือ Class A, B และ C Class First bits Range of IP จำนวน Host สูงสุด จำนวนบิต A 0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255 16,777,216 24 B 10 128.0.0.0 ถึง 191.255.255.255 65,535 16 C 110 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.255 254 8 D 1110 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255 - E 1111 240.0.0.0 ถึง 255.255.255.255

Class ของ IP Address Class A เหมาะสำหรับใช้งานในระบบเครือข่ายขนาดใหญ่มาก มีเครื่องลูกข่ายได้ถึง 16.7 ล้านเครื่อง มีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 127 บิตแรก จะมีค่าเป็น 0 โดยในการใช้งานจริงหมายเลขเริ่มต้น และหมายเลขสุดท้ายจะไม่ถูกนำมาใช้งาน สำหรับหมายเลข 127.0.0.1 เป็นที่สำรองไว้ในการทดสอบการทำงานของอุปกรณ์เครือข่าย ที่เรียกว่า Loopback testing Class B เหมาะสำหรับองค์กรขนาดกลาง มีเครื่องลูกข่ายได้ถึง 65,535 เครื่อง มีค่าได้ตั้งแต่ 128 ถึง 191 สองบิตแรกมีค่าเป็น 10 Class C เหมาะสำหรับองค์กรขนาดเล็ก มีเครื่องลูกข่ายได้ถึง 254 เครื่อง มีค่าได้ตั้งแต่ 192 ถึง 223 สามบิตแรกจะมีค่าเป็น 110

Default Subnet Mask เป็นค่าที่ใช้สำหรับแบ่งเน็ตเวิร์กออกเป็นเน็ตเวิร์กย่อย กรณีที่ต้องการจัดสรรหมายเลขไอพี ให้หน่วยงานตามจุด หรือสาขาต่าง ๆ Class Net Mask เลขฐานสิบ Net Mask เลขฐานสอง A 255.0.0.0 11111111.00000000.00000000.00000000 B 255.255.0.0 11111111. 11111111.00000000.00000000 C 255.255.255.0 11111111. 11111111. 11111111.00000000

การแบ่ง Subnet ของ Class C เนื่องด้วยปัจจุบัน IP Address ที่มีใช้งานส่วนมากเป็นคลาส C เกือบทั้งหมด กล่าวคือเราใช้ 8 บิต ด้านขวาสุดของ IP Address ในการกำหนด Host Address (Host ID) ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการทำการ Subnet ในคลาส C ก็คือการแบ่งข้อมูล 8 บิต ของ Host Address ออกเป็น Subnet Address และ Host Address ใหม่นั่นเอง สรุปการแบ่ง Subnet ของคลาส C ที่นำมาใช้งานจริงได้ 5 แบบ ดังตารางต่อไปนี้

การแบ่ง Subnet ของ Class C Subnet Mask (เลขฐานสิบ) Prefix จำนวนเครือข่ายย่อย (Subnet) จำนวนเครื่องลูกข่าย (Host) 2 255.255.255.192 /26 4 62 3 255.255.255.224 /27 8 30 255.255.255.240 /28 16 14 5 255.255.255.248 /29 32 6 255.255.255.252 /30 64

การแบ่ง Subnet ของ Class C ตัวอย่าง สมมติบริษัท A ได้ IP Address คลาส C มี IP Address เป็น 203.146.86.0 และ Net Mask 255.255.255.0 แสดงว่า Host ID เป็น 8 บิต ทั้งนี้บริษัท A สามารถใช้งาน IP Address สำหรับจ่ายให้เครื่องพีซีต่าง ๆ ได้ตั้งแต่ 203.146.86.1 ถึง 203.146.86.254 (203.146.86.0 กับ 203.146.86.255 สงวนไว้) การคำนวณจำนวนโฮสต์ใช้สูตร 2n – 2 n คือ จำนวนบิตของหมายเลขโฮสต์ ดังนั้น จำนวนเครื่องลูกข่าย ของ 203.146.86.0 ในคลาส C หาได้จาก 28 – 2 = 256 – 2 = 254 เครื่อง

Classless IP Address ในการใช้งานไอพีแบบธรรมดา จะเห็นว่าสิ้นเปลืองไอพีจำนวนมาก วิธีแก้คือแบ่งไอพีเป็นแบบ Classless คือเอาจำนวนบิตของ Net ID โดยไม่จำเป็นต้องใช้เป็นค่าดีฟอลต์ คือ 8, 16, 24 (Class A,B,C) อีกต่อไป โดยเราสามารถแบ่งได้แบบอิสระ เช่น 203.146.86.0/24 เป็น IP Class C มี Net ID 24 บิต และ Host ID 8 บิต สามารถนำไปจ่ายให้เครื่องลูกข่ายได้ 254 เครื่อง ถ้าหากหน่วยงานที่ใช้มีสาขาย่อยอยู่ต่างจังหวัด เราสามารถแบ่งไอพีออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อให้สาขาต่างจังหวัดนำไปใช้งานก็สามารถทำได้เช่นกัน เช่น Network address 203.146.86.0 Subnet mask 255.255.255.192(/26)

ช่วงของไอพีที่ใช้งาน Classless IP Address ทำการแปลง Subnet mask เป็นเลขฐานสองจะได้เป็น 11111111.11111111.11111111.11000000 บิตสุดท้ายเท่ากับ 2 บิต ที่ใช้ทำเป็น Subnet เหลืออีก 6 บิตใช้ทำ Host ID (26 – 2 = 62 เครื่อง) Subnet ช่วงของไอพีที่ใช้งาน Boardcast 203.146.86.0 203.146.86.1 to 203.146.86.62 203.146.86.63 203.146.86.64 203.146.86.65 to 203.146.86.126 203.146.86.127 203.146.86.128 203.146.86.129 to 203.146.86.190 203.146.86.191 203.146.86.192 203.146.86.193 to 203.146.86.254 203.146.86.255

Private IP Address เรียกกันว่าไอพีปลอม หรือไอพีภายใน ถูกนำมาใช้สำหรับองค์กรที่ไม่ได้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ไอพีปลอมนั้นปัจจุบันถูกนำมาใช้งานในการจ่ายให้เครื่องลูกข่ายในองค์กร เช่น ร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ทำเป็นระบบ NAT ในการจ่ายไอพีให้เครื่องลูกข่ายในองค์กร ใช้ทำระบบ Intranet ใช้งานในองค์กร Class Range of IP A 10.0.0.0 to 10.255.255.255 B 172.16.0.0 to 172.31.255.255 C 192.168.0.0 to 192.168.255.255

DNS (Domain Name System) เป็นระบบการแปลงชื่อ Host เป็น IP และแปลง IP เป็น Host เช่น www.google.co.th <> 209.85.175.104 การแปลงชื่อ Host เป็น IP เรียกว่า Forward Mapping การแปลง IP เป็น Host เรียกว่า Reverse Mapping หน่วยงานที่ดูแลโดเมนเนมสากลคือ InterNIC (www.internic.net) หน่วยงานที่ดูแลโดเมนสัญชาติไทยคือ THNIC (www.thnic.net)

โดเมนเนม สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ โดเมนเนม 2 ระดับ เช่น se-ed.com โดเมนเนม 3 ระดับ เช่น feu.ac.th 2 ระดับ 3 ระดับ คำอธิบาย .com .co.th องค์กรธุรกิจ .net .net.th ผู้ให้บริการด้านเครือข่าย .org .or.th หน่วยงานที่ไม่แสวงหาผลกำไร .edu .ac.th สถาบันการศึกษา .gov .go.th หน่วยงานราชการ .mil .mi.th หน่วยงานทางทหาร - .in.th บุคคลทั่วไป