Computer Applications in Production

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ
Advertisements

Grade A Garment This template can be used as a starter file for a photo album.
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ทอฟฟี่มะละกออัลมอนด์
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
Lesson 11 Price.
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
การวางแผนกลยุทธ์.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
MARKET PLANNING DECISION
Location Problem.
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ร้านซ่อม ประกอบคอมพิวเตอร์ (ในและนอกสถานที่)
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
Computer Application in Customer Relationship Management
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
การศึกษาความเป็นไปได้ FEASIBILITY STUDY
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
เอกสารเรียนวันที่ 17 มกราคม 2555 การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ความหมายของการบริการ
การวางแผนการผลิต และการบริการ
ญาลดา พร ประเสริฐ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราช ภัฏยะลา.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ต้นทุนการผลิต.
กลยุทธ์กระบวนการและการวางแผนกำลังการผลิต
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สภาพแวดล้อมของช่องทางการตลาด
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ทฤษฎีการผลิต.
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Computer Applications in Production Ch5 Location Planning & Transportation

Location Planning การเลือกทำเลที่ตั้ง แหล่งที่จะทำให้ธุรกิจสามารถประกอบกิจกรรมได้สะดวกที่สุด โดยคำนึงถึงกำไร ค่าใช้จ่าย ความสัมพันธ์ของลูกค้า พนักงานและสภาพแวดล้อมภายนอกอื่นๆ ตลอดระยะเวลาที่ธุรกิจประสงค์จะประกอบกิจกรรมนั้นๆ เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต คือ การออกแบบและติดตั้งระบบการผลิต : การกำหนดขนาดและผังโรงงาน การจัดหาอุปกรณ์การผลิต วัตถุดิบ การหาแรงงาน และการหาสาธารณูปโภคเพื่อการผลิต การดำเนินการผลิต : การกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ค่าแรงงาน ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าขนส่ง ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายการดำเนินงานรายปีที่แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น

Location Planning ขั้นตอนการเลือกทำเลที่ตั้ง การศึกษาปัจจัย การวิเคราะห์ทางเลือก เทคนิคการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ไม่เลือก การตัดสินใจ เลือก ลงทุนก่อสร้าง

Location Planning ปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้ง การคมนาคมขนส่ง : ถนน บริการทางคมนาคม รถไฟ เรือ เครื่องบิน ระบบการขนส่งต่างประเทศ ปัจจัยการผลิต : วัตถุดิบ แรงงาน ค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายในการจัดหา ราคาที่ดิน ตลาด : ลูกค้า ชุมชน และแหล่งจำหน่ายสินค้า สาธารณูปโภค : น้ำประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ ระบบบำบัด การบริการทางสังคม : สถานีตำรวจ ดับเพลิง เทศบาลโรงพยาบาล โรงเรียน สิ่งแวดล้อม : ภูมิอากาศดี มลภาวะน้อย ความชื้นเหมาะสม ไม่มีแสง เสียงรบกวน

Location Planning ปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้ง กฎหมาย : ภาษีที่ดิน ภาษีโรงเรือน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีการค้า ค่าเบี้ยประกันต่างๆ ทัศนคติของชุมชน : ทัศนคติของชุมชนที่ล้อมรอบทำเลที่ตั้งโรงงานต้องสนับสนุนโรงงาน คู่แข่งขัน : ควรมีความร่วมมือกันระหว่างคู่แข่งในทางที่ดี โอกาสความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของท้องถิ่นนั้นในอนาคต

Location Planning รวม เทคนิคการวิเคราะห์การเลือกทำเลที่ตั้ง ลำดับ เชิงคุณภาพ : การเรียงลำดับความสำคัญของปัจจัยและให้คะแนนปัจจัย ลำดับ ปัจจัย Score ทำเล 1 ทำเล2 ทำเล3 1 แหล่งวัตถุดิบ 400 250 80 2 ชุมชน 350 150 170 200 3 แหล่งแรงงาน 300 4 การขนส่งสะดวก 240 5 สาธารณูปโภค 190 6 การบำบัดของเสีย 50 100 7 สิ่งแวดล้อม 90 120 รวม 2000 1390 1300 1090

Location Planning เทคนิคการวิเคราะห์การเลือกทำเลที่ตั้ง TC = TFC + TVC เชิงปริมาณ การประเมินและเปรียบเทียบต้นทุนรวม (Cost Comparison) การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break Even Point Analysis) การเปรียบเทียบค่าขนส่งรวมโดยใช้ตัวแบบการขนส่ง (Transportation) การประเมินและเปรียบเทียบต้นทุนรวม (Cost Comparison) TC = ต้นทุนการผลิตรวม TFC = ต้นทุนคงที่รวม TVC = ต้นทุนผันแปรรวม VC = ต้นทุนแปรผันต่อหน่วย Q = จำนวนสินค้าที่จะผลิต TC = TFC + TVC TVC = VC(Q) TC = TFC + VC(Q)

Location Planning Cost Comparison เมือง B มีต้นทุนคงที่ 2.5 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 45 บาท/หน่วย เมือง C มีต้นทุนคงที่ 1.1 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 200 บาท/หน่วย ถ้าบริษัทนี้พยากรณ์ได้ว่าจะมีกำลังการผลิตปีละ 10,000 หน่วย บริษัทแห่งนี้ควรเลือกทำเลใดในการตั้งโรงงานจึงจะมีต้นทุนต่ำที่สุด Location TFC VC Q TC A 2,000,000 100 10,000 3,000,000 B 2,500,000 45 2,950,000 C 1,100,000 200 3,100,000 ทดลองใช้ MS-Excel ในการสร้างสมการหรือสูตรเพื่อการคำนวณ และหาคำตอบ

Location Planning ตัวอย่าง : การประเมินและเปรียบเทียบต้นทุนรวม (Cost Comparison) บริษัท 3B จำกัด กำลังพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้ง มี 3 ทำเลให้เลือกดังนี้ เมือง A มีต้นทุนคงที่ 1.0 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 200 บาท/หน่วย เมือง B มีต้นทุนคงที่ 2.5 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 80 บาท/หน่วย เมือง C มีต้นทุนคงที่ 1.3 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 160 บาท/หน่วย ถ้าบริษัทนี้พยากรณ์ได้ว่าจะมีกำลังการผลิตปีละ 15,000-20,000 หน่วย บริษัทแห่งนี้ควรเลือกทำเลใดในการตั้งโรงงานจึงจะมีต้นทุนต่ำที่สุด Location TFC (ล้านบาท) VC Q (ค่าต่างๆ) หน่วย TC = TFC+VC(Q) Q1 Q2 Q3 A 1 200 10000 20000 30000 B 2.5 80 C 1.3 160 ทดลองใช้ MS-Excel ในการสร้างสมการหรือสูตรเพื่อการคำนวณ และหาคำตอบ

Location TC = TFC+VC(Qi) Q1 Q2 Q3 A B C

Location Planning Break Even Point Analysis TC = ต้นทุนการผลิตรวม TFC = ต้นทุนคงที่รวม TVC = ต้นทุนผันแปรรวม VC = ต้นทุนแปรผันต่อหน่วย Q = จำนวนสินค้าที่จะผลิตTC = TFC + VC(Q) TR = รายได้รวม TR = P x Q P = ราคาขายต่อหน่วย TR = TC P(Q) = TFC + VC(Q) P(Q) – VC(Q) = TFC Q (P-VC) = TFC Q = TFC (P-VC)

Location Planning Break Even Point Analysis Volume BEP Unit BEP

Location Planning Break Even Point Analysis ตัวอย่าง การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เพื่อเลือกทำเลที่ตั้ง ผู้บริหารธุรกิจแห่งหนึ่งกำหนดราคาขายสินค้าไว้ที่หน่วยละ 10 บาท กำลังพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้งโรงงานแห่งใหม่โดยมีข้อมูลต้นทุนดังนี้ Location ราคาที่ดิน (บาท) VC Q = TFC P- VC A 400000 8 B 500000 4 C 600000 5 ทดลองใช้ MS-Excel ในการสร้างสมการหรือสูตรเพื่อการคำนวณ และหาคำตอบ

Location Planning Transportation การเปรียบเทียบค่าขนส่งรวมโดยใช้ตัวแบบการขนส่ง (Transportation Model) ตัวแบบการขนส่งเป็นเทคนิคการคำนวณในลักษณะของโปรแกรมเส้นตรง (Linear Programming) ที่ใช้คำนวณหาต้นทุนค่าขนส่งรวมต่ำสุด (Minimizing cost) สำหรับการกระจายสินค้าของโรงงานที่มีสถานที่ผลิตหลายแห่งและมีสถานที่ส่งสินค้าหลายแห่ง โดยที่ค่าขนส่งของแต่ละเส้นทางขนส่งมีค่าไม่เท่ากัน (ขึ้นกับระยะทางที่ห่างกัน) ดังนั้นโรงงานจะสามารถทราบได้ว่าควรจะกระจายสินค้าด้วยเส้นทางใดจึงจะได้ค่าขนส่งรวมต่ำที่สุด จึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้วิเคราะห์ทางเลือกเพื่อการตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้งโรงงานได้เป็นอย่างดี Demand ปลายทาง Supply ต้นทาง

Location Planning Transportation โรงงาน1 โรงงาน2 โรงงาน3 โรงงาน4 โรงงาน5 ร้านค้าปลีก ตัวแทนจำหน่าย พ่อค้าส่ง ลูกค้า เส้นทางการขนส่งแต่ละเส้นมีระยะทางไม่เท่ากัน จึงมีค่าขนส่งแตกต่างกันตามระยะทาง

Transportation Model ขั้นตอนการคำนวณหาต้นทุนค่าขนส่งรวมต่ำสุดด้วยตัวแบบการขนส่งและใช้ Microsoft Excel ในการ Solution เพื่อหาคำตอบ หาผลรวมสินค้าของแหล่งผลิต (Supply) และแหล่งรับสินค้า (Demand) สร้างตารางเมตริกซ์ (Matrix Square) สร้างแถวนอน (Row) = จำนวนโรงงานหรือแหล่งผลิตสินค้า (Supply) สร้างแถวตั้ง (Column) = จำนวนแหล่งที่จะรับสินค้า (Demand) เมื่อนำแถวนอนกับแถวตั้งมารวมกันจะได้ Matrix Square โดยจะเกิดช่องที่เกิดจากการตัดกันของ Row / Column เรียกว่า Cell ถ้าเกิดจากการตัดกันของ Row ที่ 1 กับ Column ที่ 2 เรียก Cell นั้นว่า C12 กำหนดค่าขนส่งในแต่ละเส้นทาง และระบุลงไปใน Matrix สร้าง Matrix Square ลงใน Spread Sheet (Excel) (เปิดไฟล์ T_Sample ในเว็บ)

Transportation Model Matrix ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลลงเมทริกซ์ บริษัทแห่งหนึ่งมีโรงงานผลิตสินค้าอยู่ 3 แห่ง แห่งละ 500 ,600 และ 400 หน่วย ตามลำดับ โดยมีเอเย่นต์อยู่ 4 ราย แต่ละรายรับสินค้าได้จำกัดจำนวน คือ 260 , 380 , 490 และ 370 หน่วย ตามลำดับ เขียนเป็นแผนภาพและระบุค่าขนส่งได้ดังนี้ 2 26 5 8 1 50 6 38 7 4 60 17 49 10 18 5 40 37 3 ค่าขนส่ง : บาทต่อหน่วยสินค้า 7

Transportation Model Matrix Agent1 Agent2 Agent3 Agent4 Supply โรงงาน1 2 6 17 5 500 โรงงาน2 7 10 3 600 โรงงาน3 8 4 18 400 Demand 260 380 490 370 1500