การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
ที่มา ใช้ KM ตามรูปแบบของสถาบันเพิ่มผลผลิต ความรู้ที่จำเป็นในการทำงานตามภารกิจ : การเรียนการสอน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
KM การวิจัยในชั้นเรียน ขั้นที่ 1 บ่งชี้ความรู้ - ความเข้าใจที่ถูกต้อง -การเห็นคุณค่าและความสำคัญ -กระบวนการ/วิธีการ ของการวิจัยในชั้นเรียน
KM การวิจัยในชั้นเรียน ขั้นที่ 2 แสวงหาความรู้/แหล่งความรู้ - ภายใน -ภายนอก ขั้นที่3 การจัดระบบความรู้
KM การวิจัยในชั้นเรียน ขั้นที่ 4 การเข้าถึงความรู้ เชิญศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล ว่องวาณิช ให้ความรู้/แนวคิด ในการทำวิจัยในชั้นเรียนในบริบทอุดมศึกษา ให้กับอาจารย์ผู้สนใจ เผยแพร่ผ่านweb site จัดทำสรุปสาระการบรรยายเผยแพร่บนweb site
KM การวิจัยในชั้นเรียน ขั้นที่ 5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ภายในสาขา ผู้เข้าร่วมฟังบรรยาย นำความรู้ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนในสาขาของตนเพื่อร่วมกันคิดหัวข้อการวิจัยในชั้นเรียนของสาขา -ภายในคณะ แต่ละสาขา นำเสนอหัวข้อวิจัยในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีผู้รู้ภายในคณะเป็นผู้ให้คำแนะนำ ปรับเปลี่ยนโครงการวิจัยในชั้นเรียนตามคำแนะนำ เพื่อเสนอของบประมาณในการดำเนินการ
KM การวิจัยในชั้นเรียน ขั้นที่ 6 การเรียนรู้ -แต่ละกลุ่มที่ทำวิจัยในชั้นเรียน มีการประชุมพบปะภายในกลุ่มระหว่างดำเนินการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อ เรียนรู้ กระบวนการในการทำวิจัยในชั้นเรียน และ ผลการวิจัยที่เกิดขึ้น สรุปผลการวิจัย
KM FORUM เพื่อนำเสนอผลการวิจัยในชั้นเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำไปสู่องค์ความรู้ เรื่อง กระบวนการ / วิธีการวิจัยในชั้นเรียน ที่เหมาะสมของแต่ละสาขาวิชา ผลลัพธ์ของการวิจัยที่นำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน (เทคนิคการสอนใหม่ สื่อการสอนใหม่ จิตวิทยาการสอนใหม่…..) กระบวนการ/ วิธีการในการส่งเสริมให้เกิดการทำวิจัยในชั้นเรียน