การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

รายงานผลการดำเนินงาน บริหารจัดการค่าใช้จ่าย
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
Health Promotion & Prevention
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Health Promotion & Prevention
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
นโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
โดย นายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์
รอบที่ 1 ประจำปี 2556 จังหวัดเพชรบุรี ระหว่าง วันที่ มีนาคม 2556.
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาเขตสุขภาพ
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
หลักในการทำงานของ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข นายแพทย์ณรงค์ สห เมธาพัฒน์
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ โดย นพ.สุวัฒน์ กิตติดิลกกุล ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ วันที่ 9 มกราคม 2556 โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี

นโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพในเขตพื้นที่เครือข่ายบริการ โดย นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 26 ธันวาคม 2555 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กทม.

การแปลงแผนงาน/มาตรการ รองรับ KPI คนไทยสุขภาพดี Strategic Focus 61 KPI แผนส่วนกลาง/กรม แผนงาน/มาตรการ รองรับ KPI Basic Package 20 KPI แผนพัฒนาสุขภาพ เขต/จังหวัด/อำเภอ/ตำบล Specific Issues 18 KPI 1.แผนงานบริการ 2. แผนงานส่งเสริมป้องกันโรค 3. แผนงานบริหาร(25 แผนงาน) เป้าหมาย/KPI ยุทธศาสตร์/มาตรการ งบประมาณทั้งเขต

ระบบงบประมาณที่ใช้ในเขตสุขภาพ สปสช. กรม สป กรม PPNP บูรณาการ สปสช.เขต MOU MOU 8 Flagships (BS, NP) (NP) เขต สธ. PPA งบ UC งบ สธ. Non UC แผนยุทธ กำกับติดตาม จังหวัด PPA BS, NP, AH อำเภอ PPE

วงเงินงบ PP ที่ดำเนินการร่วมกัน ค่าวัคซีน สมุดบันทึก 1,130 ล้าน 1. งบ NPP 1,682 ล้าน แผนระดับชาติ 550 ล้าน 2. งบ PPE 3,300 ล้าน (หักเงินเดือน) ระดับเขต 3. งบ PPA 1,114 ล้าน (หักงบสนับสนุนกองทุนตำบล) งบรวม 6,082 ล้าน (เขตละ 500 ล้าน) 4. งบสนับสนุน 502 ล้าน งบกระทรวง 949 ล้าน 5. งบทันต 1,085 ล้าน (เขตละ 80 ล้าน) 6. งบกองทุนโรคเรื้อรัง 82 ล้าน

อาจปรับเกลี่ยให้หน่วยงานระดับพื้นที่เพิ่มเติมได้ สัดส่วนการจัดสรรงบลงเครือข่ายบริการสุขภาพปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เขต ร้อยละ 10 จังหวัด ร้อยละ 20 พื้นที่ ร้อยละ 70 ใช้ฐานประชากรกลางปี 54 และจำนวน รพ.สต. สัดส่วนอย่างละ ร้อยละ 50 กำหนดได้ความเหมาะสม อาจปรับเกลี่ยให้หน่วยงานระดับพื้นที่เพิ่มเติมได้

วงเงินจัดสรรงบลงเครือข่ายบริการสุขภาพปีงบประมาณ พ. ศ วงเงินจัดสรรงบลงเครือข่ายบริการสุขภาพปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หน่วย: บาท

งบประมาณฯ รายจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 งบประมาณฯ รายจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 โดยภาพงบประมาณฯ 1.จัดสรรตามร่างสำนักงานปลัดฯ ทั้งระดับเครือข่าย จังหวัด พื้นที่ได้แก่ เครือข่าย 7 – 12 ส่วนเครือข่าย 2- 5 จัดสรรตามร่างสป.ฯ แต่ระดับเครือข่ายรอจัดสรร 2. จัดสรรเบื้องต้น ร้อยละ 50 ของวงเงินทั้งเครือข่ายให้ระดับพื้นที่ที่เหลือรอจัดตามแผนงาน/โครงการของจังหวัด ได้แก่ เครือข่าย 6 3. ระดับเครือข่ายรอจัดสรร ร้อยละ 20 จัดสรรระดับจังหวัดร้อยละ 10 และระดับพื้นที่ ร้อยละ 70 ได้แก่ เครือข่าย 1

ตัวอย่างรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณฯ รายจังหวัด เครือข่าย10 หน่วย: ลบ. เกณฑ์: จำนวนประชากรกลางปี และ รพ.สต.

ตัวอย่างรายละเอียดการจัดสรรงบประมาณฯ รายจังหวัด เครือข่าย1 หน่วย: ลบ.

งบประมาณฯ รายจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 1. งบประมาณฯ Non UC - ระดับจังหวัด - ระดับอำเภอ 2. งบประมาณฯ UC - ระดับจังหวัด - PPE เครือข่ายบริการระดับอำเภอ

แผนพัฒนาเขตสุขภาพ บริการ(4 แผน) บริหาร (8 แผน) สส ปก (13 แผน) สุขภาพสตรี และทารก + BS การเงินการคลัง พัฒนาบริการ 10 สาขา สุขภาพเด็ก 0-2 ปี + BS การบริหารกำลังคน-จริยธรรม พัฒนาระบบส่งต่อ สุขภาพเด็ก 3-5 ปี + BS ระบบข้อมูล คุณภาพบริการ สุขภาพเด็กนักเรียน + BS การบริหารเวชภัณฑ์ การแพทย์ฉุกเฉิน/อุบัติภัย สุขภาพวัยรุ่น + BS พัฒนาประสิทธิภาพ ซื้อ/จ้าง ป้องกันควบคุม NCD (DM&HT) ดูแลเฝ้าระวังสตรีไทยจากมะเร็ง สาธารณสุขชายแดน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ ยาเสพติด อาหารปลอดภัย โครงการพระราชดำริ การควบคุมโรคติดต่อ สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อสุขภาพ สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ การมีส่วนร่วมภาคประชาชน

ลักษณะสำคัญของ แผนสุขภาพเขต - แผนรวมของกิจกรรม/โครงการทุกระดับ เน้นรายแผนงาน ( 25 แผนงาน) - การจัดทำแผนในระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ/ตำบล การกำหนดเป้าหมาย กิจกรรมการดำเนินงาน และ งบประมาณที่ใช้

ตัวอย่างแผนบูรณาการของแผนงานงาน แผนงานพัฒนาสุขภาพเด็กนักเรียน มีองค์ประกอบ 4 เรื่อง 1.Growth & Development กรมอนามัย 2. EQ / IQ กรมสุขภาพจิต 3. Vaccines กรมควบคุมโรค 4. Oral Health กรมอนามัย ยุทธศาสตร์ / มาตรการ 1.โภชนาการ 2.เพิ่มไอโอดีน 3.คัดกรองสุขภาพจิต 4. EPI Program 5. ตรวจสุขภาพฟัน งบประมาณ : กรม / เขต/ จว. (รวมทุกแหล่ง)

การกำกับติดตาม และประเมินผล - การรายงานผลใน 21 และ 43 แฟ้ม - การประเมินผลและพัฒนาบริการ - การสำรวจและวิจัย

การจัดทำรายงานผลการดำเนินการ เพื่อตอบสนองต่อชีวิต (KPI) s 7 KPI จากระบบข้อมูลเกิด-ตาย ของมหาดไทย s 30/52 KPI ได้จากการนิเทศประเมินผล และสำรวจ s

ตัวอย่าง KPI จากข้อมูล ใน 21 แฟ้ม S 1. ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด (ไม่เกิน 5) 3. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ เมื่ออายุครรภ์ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 เดือน (ไม่น้อยกว่า 60) 11. ร้อยละของสตรีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูก (ไม่น้อยกว่า 80) 13. ร้อยละของประชาชนอายุ>=15 ปี ได้รับคัดกรอง DM, HT (ไม่น้อยกว่า 90)

ตัวอย่าง KPI จากการนิเทศประเมิน S 1. ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 3. ร้อยละของบริการ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 6. ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 10. ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพดี/ดีมาก (ไม่น้อยกว่า 70)

ตัวอย่าง KPI จากการสำรวจ และแหล่งข้อมูลต่างๆ S 8. อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของ นร.ชาย มัธยมศึกษา (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50) 10. ร้อยละของสตรีที่มีการตรวจเต้านมด้วยตนเองถูกวิธี (ไม่น้อยกว่า 80) 12. สัดส่วนของมะเร็งเต้านม ปากมดลูกระยะที่ 1 และ 2 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) 20. จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ (อัตราร้อยละ 50)

...สวัสดี...