นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(District Health System)
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ความหมายและกระบวนการ
สวัสดีครับ.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
(District Health System)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
โครงการสร้างความเข้มแข็ง การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน โดย นายแพทย์ชลน่าน ศรีแก้ว รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข 28 ธันวาคม 2555

การขับเคลื่อนตำบลจัดสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน การขับเคลื่อนตำบลจัดสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน มีความรู้ ตำบลจัดสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน วิสาหกิจ ชุมชน รพ. สต. อปท. ภาค ประชาชน (อสม. บวร.) มีสุขภาพดี มีรายได้

แนวคิดการบูรณาการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน แนวคิดการบูรณาการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHSA : District Health System Appreciation) เอกภาพของทีมสุขภาพระดับอำเภอ (Unity of District Health Team) บริการพื้นฐานที่จำเป็น (Essential Health Care) การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) งบประมาณ, ทรัพยากรต่างๆ และโครงสร้างองค์กร ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น ทีมสุขภาพเป็นสุข และชุมชนไม่ทอดทึ้งกัน การประเมินผล และเรียนรู้ตามบริบท สุขภาพและ คุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนมีการพัฒนา ที่ยั่งยืน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ลดอัตราการป่วยตายด้วยโรควิถีชีวิต ลดความรุนแรงของโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต นโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพดี ชุมชนสุขภาพดี (Healthy community) สิ่งแวดล้อมดี พลังงานสะอาด (Green community) แก้ไขปัญหาความยากจน (Poverty Eradication) ภาครัฐ มหาดไทย พลังงาน เกษตร ศึกษาธิการ พัฒนาสังคมฯ สาธารณสุข เอกชน หน่วยงาน/องค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง ตำบลจัดการ สุขภาพดี วินิจฉัย/รักษา Tele Medicine [Web Camera] Family Folder Home Health Care Home ward Health Screening Curative Referral System การแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านสุขภาพ โรคไร้เชื้อเรื้อรัง /โรคติดต่อทั่วไป กิจกรรมพัฒนาสุขภาพ/พฤติกรรมสุขภาพ สร้างรายได้ แก้ไขปัญหาความยากจน แผนสุขภาพ ตำบล รพ. สต. วิสาหกิจชุมชน กองทุนในพื้นที่ (กองทุนหมู่บ้าน กองทุนพัฒนาสตรี กองทุนสัจจะ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ฯลฯ) กองทุน CSR กองทุนมูลนิธิ ภาคประชาชน (อสม. บวร.) * กระบวนพัฒนาบทบาทภาคประชาชน หมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ภาคีเครือข่ายต่างๆบริหารยุทธศาสตร์ร่วมกัน : SRM PLA AIC การพัฒนาศักยภาพ อสม. การพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน * รร.วัตกรรมสุขภาพชุมชน / รร.อสม. อปท. กำหนดนโยบาย/ข้อบังคับ - กระบวนการมีส่วนร่วม - สอดคล้องกับท้องถิ่น หาแนวร่วม/สร้างทีม/คณะทำงาน จัดทำแผนสนับสนุนแผน สนับสนุนการเรียนรู้ ร่วมกำหนดนโยบายท้องถิ่น สะท้อนข้อมูล ร่วมในกระบวนการทำแผน ร่วมปฏิบัติ/ดำเนินการ

ความหมาย AIC : Appreciation Influence Control คือ เทคนิคกระบวนการวางแผนการมีส่วนร่วม PLA : Participatory Learning Approach คือ กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม SRM : Strategic Route Map คือ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ CSR : Corporate Social Responsibility คือ ความรับผิดชอบต่อสังคม

ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจยั่งยืน มีตังค์ เชิงกระบวนการ เชิงผลผลิต เชิงผลลัพธ์ มีกลไกความร่วมมือแบบบูรณาการระดับตำบล มีกระบวนการจัดการสุขภาพทั้งด้านการเฝ้าระวัง การส่งเสริม การป้องกัน การสร้างสุขภาพโดยชุมชนและท้องถิ่น มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สิ่งดีๆ ในการพัฒนา และต่อยอดความสำเร็จของการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนและนวัตกรรมด้านสุขภาพ มีกิจกรรม / โครงการที่ดำเนินการโดยชุมชน / ท้องถิ่น มีประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองและมีการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ มีการสร้างสุขภาพที่ดี มีประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการสุขภาพที่เหมาะสม และมีการดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) 4. มีการสร้างและใช้นวัตกรรมด้าน สุขภาพเพื่อการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชน พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ลดอัตราการป่วยตายด้วยโรควิถีชีวิต ลดความรุนแรงของโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ   เชิงกระบวนการ เชิงผลผลิต เชิงผลลัพธ์ มีวิสาหกิจชุมชน ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมชุมชน มีเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ประชาชนมีงานทำ มีรายได้ มีการเชื่อมโยงวิสาหกิจชุมชน ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ คุณภาพชีวิตในชุมชนดีขึ้น   ยั่งยืน ผลลัพธ์ที่คาดหวัง นโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพดี (Healthy public Policy) ชุมชนสุขภาพดี (Healthy community) สิ่งแวดล้อมดี พลังงานสะอาด (Green community) แก้ไขปัญหาความยากจน (Poverty Eradication)