ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

Business Database หน่วยกิต 3(3-0-6) บรรยาย : วันพุธ เวลา 13:00- 16:00 น. ห้อง B1207 ses/204406/ htm.
ระบบสารสนเทศ (ต่อ) (Information Systems : IS)
Chapter 1 : Introduction of System ข้อมูล และ สารสนเทศ
Information Systems in the Enterprise
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
Information System and Technology
Information System.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
ซอฟต์แวร์.
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
ผู้บรรยาย พลตรีสุริยน เผือกสกนธ์
กระบวนวิชา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System)
กุลฉัตร ฉัตรกุล ณ อยุธยา
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
การเงิน.
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS Management Information System
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล (ต่อ)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Information Technology
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
Transaction Processing Systems
ระบบสารสนเทศในองค์กรสมัยใหม่ (ศูนย์ข้อมูล)
Geographic Information System
(Transaction Processing Systems)
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
ฐานข้อมูล Data Base.
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
Information Technology : IT
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ(Information Systems)
กระบวนการทำงานและบุคลากร
Seminar in Information Knowledge and Technology Management ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
ระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ Business Information systems
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ระบบฐานข้อมูล.
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
13 October 2007
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
ระบบสารสนเทศ (Information System)
13 October 2007
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ

การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ กระบวนการ สารสนเทศ ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ เทคโนโลยี

การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ รายงาน (Report) แฟ้มใหม่ (New file) แสดงกราฟิก (Graphical displays) ข้อมูล Data การเรียกข้อมูล (Retrieval) การวิเคราะห์ (Analysis) การเก็บข้อมูล (Capture) การนำเสนอ (Presentation)

การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ กระบวนการ สารสนเทศ ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลทุติยภูมิ การตัดสินใจ ผู้บริหาร

ส่วนประกอบของ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems) ระบบประมวลผล รายการ (Transaction Processing Systems<TPS>) ระบบการจัดการ รายงาน (Management Reporting Systems<MRS>) ระบบสนับสนุน การตัดสินใจ (Decision Support Systems<DSS>) ระบบสารสนเทศ สำนักงาน (Office Information Systems<OIS>)

การจัดโครงสร้างของสารสนเทศ DATA WORKERS KIND OF SYSTEM GROUPS SERVED STRATEGIC LEVEL SENIOR MANAGERS MANAGEMENT LEVEL MIDDLE MANAGERS OPERATIONAL OPERATIONAL LEVEL MANAGERS KNOWLEDGE LEVEL KNOWLEDGE & SALES & MANUFACTURING FINANCE ACCOUNTING HUMAN RESOURCES MARKETING ESS MIS DSS OAS KWS TPS

การจัดโครงสร้างของสารสนเทศ TPS OAS MIS KWS DSS ESS ORGANIZATIONAL LEVEL TYPE OF DECISION OPERATIONAL KNOWLEDGE MANAGEMENT STRATEGIC STRUCTURED ACCOUNTS RECEIVABLE ELECTRONIC PRODUCTION SCHEDULING COST OVERRUNS SEMI- BUDGET PREPARATION PROJECT FACILITY LOCATION UNSTRUCTURED PRODUCT DESIGN NEW PRODUCTS NEW MARKETS

การรวมความสัมพันธ์ของแต่ละ ระบบย่อยเข้าด้วยกัน ความสัมพันธ์ของแต่ละระบบย่อย (Relationship of subsystem) ถ้าองค์การสามารถรวมระบบย่อยต่างๆเข้าด้วยกัน (Integration) และสร้างความสัมพันธ์ของสารสนเทศก็จะทำให้ผู้บริหารสามารถใช้ประโยชน์จาก MIS ได้เต็มประสิทธิภาพ

การรวมความสัมพันธ์ของแต่ละ ระบบย่อยเข้าด้วยกัน ระบบสนับสนุน ผู้บริหาร ESS ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ MIS ระบบสนับสนุน การตัดสินใจ DSS ระบบการประมวล ผลรายการ TPS ระบบสารสนเทศ สำนักงานและความรู้ OAS

เป้าหมายของระบบสารสนเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เพิ่มผลผลิต เพิ่มคุณภาพในการบริการลูกค้า ผลิตสินค้าใหม่และขยายผลิตภัณฑ์ สามารถที่จะสร้างทางเลือกในการแข่งขันได้ การสร้างโอกาสทางธุรกิจ การดึงดูดลูกค้าไว้ป้องกันคู่แข่งขัน

พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศบนพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ Hardware Software แบ่งเป็น 2 ประเภท โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (System software) โปรแกรมประยุกต์ (Application software) ข้อมูล (Data) บุคลากร (People)

โปรแกรมระบบปฏิบัติการ ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศบนพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ ข้อมูล โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ

- Specific Application Software System Software - Operating System - Language Translater Prog. - Utility Prog. Application Software - Specific Application Software - General Application Software 1. Word Proccessing Software 2. Spread Sheet Software 3. Database Software

5. Data Communication Software 7. CAD & CAM 4. Graphic Software 5. Data Communication Software 6. Business Software 7. CAD & CAM ************************************

พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้เขียนโปรแกรม ผู้ใช้ และผู้วิเคราะห์ระบบ โดยเฉพาะระบบในปัจจุบันจะมีโปรแกรมสำหรับช่วยในการเขียนโปรแกรม (Program generate) ส่วนผู้ใช้จะต้องมีการเรียนรู้ถึงวิธีการใช้โปรแกรม การสำรองข้อมูล (Back up) และการเรียกข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ (Restore) ผู้ใช้ยังมีความจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ถึงวิธีการป้องกันโปรแกรมไวรัส (Virus) ดังนั้นข้อมูลจะเก็บอยู่ในลักษณะฐานข้อมูล(Database) เพื่อลดการซ้ำซ้อน และข้อมูลที่ไม่ได้ปรับปรุง (Update) นอกจากนั้นจะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของข้อมูลด้วย

พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดข้อมูลบนพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ แต่ละส่วนเรียกว่า ฟิลด์ (Field) เท่ากับหนึ่งคอลัมน์ (Column) จะต้องนำหลายๆ ฟิลด์ มารวมกันเพื่อให้เกิดรายการ (Record) ถ้าหลายๆรายการรวมกันจะกลายเป็นแฟ้มข้อมูล (File) ข้อมูล

พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ รูปแบบการประมวลผล ลักษณะการประมวลแบบรวบรวมเอกสารเป็นชุด (Batch) เมื่อมีเอกสารเกิดขึ้นก็จะทำการป้อนข้อมูลเข้าไป และข้อมูลนั้นก็จะผ่านการประมวลผลในทันที ลักษณะนี้เรียกว่า Real-Time processing Real-Time จะได้ข้อมูลที่ปรับปรุงเสมอแต่โอกาสผิดพลาดและการแก้ไขจะยากกว่า เนื่องจากข้อมูลที่ป้อนเข้าไปจะไปปรับปรุงในแฟ้มข้อมูลหลัก (Master file) ส่วนวิธี Batch processing ข้อมูลจะถูกทำที่แฟ้มข้อมูลชั่วคราว (Transaction file)ก่อนที่จะมีการปรับปรุงในแฟ้มข้อมูลหลัก

Real-Time Processing Batch Processing ข้อมูลหลัก ข้อมูลชั่วคราว