รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้บริการสาธารณสุข
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
การประชุมกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ทร. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๒
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
วิชาชีพสาธารณสุขของท้องถิ่นก้าวหน้า หรือล้าหลัง
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
ความก้าวหน้าการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๕
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
การแก้ปัญหากำลังคน การขาดแคลนตำแหน่งสำหรับบรรจุเป็นข้าราชการ เป็นปัญหาเรื้อรัง (ศึกษาร่วมกับ ก.พ. เพื่อหาแนวทางแก้ไข) ปี 2555 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขขอตำแหน่งเพื่อสำหรับบรรจุนักเรียนทุน.
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
รายงานความคืบหน้า การพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา การจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานของ บุคลากร กลุ่มประกันสุขภาพ.
นโยบายสร้างความเป็น เอกภาพ ลดความเหลื่อมล้ำของ ๓ กองทุน นายแพทย์สมชัย นิจพานิข รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
โดย นางนงภรณ์ รุ่งเพ็ชรวงศ์ ผู้อำนวยการกองพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ.
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบเพื่อทำหน้าที่ National Clearing House ของ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ ที่มาและความสำคัญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ equity มาตรา ๕๑   บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่เหมาะสมและ ได้มาตรฐาน และผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการบริการสาธารณสุขจากรัฐซึ่งต้องเป็นไปอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ มาตรา ๘๐(๒) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพ อันนำไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน จัดและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ .... Heath Status

ที่มาและความสำคัญ นโยบายรัฐบาล นโยบายของรัฐบาล ข้อ ๑.๑๔ : บูรณาการสิทธิของผู้ป่วยที่พึงได้รับจากระบบประกันสุขภาพต่างๆ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ เน้นการพัฒนาคุณภาพประสิทธิภาพ และบูรณาการแผนงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป้าหมาย : มีองค์กร หรือ หน่วยงานที่ดูแลด้านการซื้อบริการทางการแพทย์และ สาธารณสุข (Healthcare Purchaser) : มีองค์กรหรือหน่วยงานกลางที่รับผิดชอบข้อมูลทางด้านสุขภาพของ ประเทศ (National Health Information) กลยุทธ์การดำเนินงาน : พัฒนาและผนวกระบบข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ ระบบบริการด้านสุขภาพของประเทศ ให้เป็นระบบเดียวกัน โดยนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและคุณภาพของงาน และเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพระดับชาติ (National Health Information)

สถานการณ์ระบบข้อมูลและธุรกรรมด้านสุขภาพของประเทศ ที่มาและความสำคัญ สถานการณ์ระบบข้อมูลและธุรกรรมด้านสุขภาพของประเทศ ความแตกต่างกันของระบบข้อมูลบริการด้านสุขภาพและการเบิกจ่าย ของสถานพยาบาลมี มีข้อจำกัดหลายด้านในการดำเนินงานแบบเดิม เช่น การจัดการข้อมูลของแต่ละกองทุนไม่มีความเชื่อมโยง การบริหารจัดการแยกส่วน ทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากร การจัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายของสถานพยาบาลมีความยุ่งยาก ข้อจำกัดในการใช้ประโยชน์จากข้อมูล การบริหารจัดการและงบประมาณ ความเหลื่อมล้ำของบริการด้านสุขภาพของประชาชน จากความ แตกต่างด้านทรัพยากร และระบบการจัดการของแต่ละกองทุน

หลักการและวัตถุประสงค์ในการดำเนินการ National Clearing House เพื่อจัดการข้อมูลของระบบการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของ สถานพยาบาลต่างๆในระบบประกันสุขภาพทั้งสามกองทุน วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่สถานพยาบาลต่างๆ ในการเรียกเก็บค่าบริการ เพื่อให้มีหน่วยงานกลาง ทำหน้าที่จัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายและระบบข้อมูล บริการสาธารณสุข (National Health Information) ในการเป็นศูนย์กลางการ เรียกเก็บค่าบริการสาธารณสุข (Claim center)

มติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๖ ที่มาและความสำคัญ มติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๖ ๑. อนุมัติให้ สปสช. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามมาตรา ๒๖ (๑๔) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕ เพื่อทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางในการจัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายและระบบข้อมูลด้านบริการสาธารณสุข (National Clearing House) ในการบริหารการเรียกเก็บ (Claim center) ค่าบริการสาธารณสุขของสถานพยาบาลต่างๆ สำหรับผู้มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและบุคคลในครอบครัว รวมทั้งผู้ประกันตน ข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานรัฐอื่นๆที่สมัครใจ   ๒. มอบ สปสช.เสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อให้ความเห็นชอบการปฏิบัติหน้าที่ เป็นหน่วยงานกลางจัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายและระบบข้อมูลด้านบริการสาธารณสุข (National Clearing House) รวมทั้งการประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตามมาตรา ๑๘ (๑๔) ของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕

มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ที่มาและความสำคัญ มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ๑. เห็นชอบตามมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๖ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในฐานะ ประธานกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเสนอ ดังนี้ ๑.๑ ให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามมาตรา ๑๘(๑๔) แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ในการควบคุมดูแล สปสช. ให้ปฏิบัติหน้าที่อื่น ได้แก่ การทำหน้าที่หน่วยงานกลางจัดการธุรกรรมการ เบิกจ่ายและระบบข้อมูลบริการสาธารณสุข (National Clearing House) ตาม นโยบายการบูรณาการและเพิ่มประสิทธิภาพระบบประกันสุขภาพของรัฐบาล เพื่อ บริหารการเรียกเก็บค่าบริการสาธารณสุข (Claim center) ของสถานพยาบาลต่าง ๆ ที่ให้บริการผู้มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและบุคคลในครอบครัว ผู้ประกันตน รวมทั้งข้าราชการพนักงานส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานรัฐอื่นๆ ที่สมัครใจ โดยอาศัยอำนาจแห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒๖ (๑๔)

มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ที่มาและความสำคัญ มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ๑. เห็นชอบตามมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๖ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในฐานะ ประธานกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเสนอ ดังนี้ ๑.๒ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง และกระทรวง แรงงานโดยคณะกรรมการประกันสังคม ให้ความร่วมมือ และให้ สปสช. ทำหน้าที่ เป็นหน่วยงานกลางจัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายและระบบข้อมูลด้านบริการ สาธารณสุข (National Clearing House) ของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ให้กับกรมบัญชีกลางและสิทธิประโยชน์ด้านการรักษาพยาบาลของผู้ประกันตน ให้สำนักงานประกันสังคม

มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ที่มาและความสำคัญ มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ๑. เห็นชอบตามมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๖ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในฐานะ ประธานกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเสนอ ดังนี้ ๑.๓ เห็นชอบให้มีกลไกคณะทำงานเพื่อผลักดันการพัฒนาระบบอย่างมีส่วนร่วมของ กองทุนประกันสุขภาพทั้งสามระบบ ได้แก่ ระบบประกันสังคม ระบบสวัสดิการ รักษาพยาบาลข้าราชการ และระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยให้รอง ปลัดกระทรวงการคลังท่านหนึ่งเป็นประธาน และให้มีหัวหน้า หรือผู้แทน หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการ รวมถึงการร่วมลงนามบันทึกความ ร่วมมือระหว่าง สปสช. กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง และสำนักงาน ประกันสังคม กระทรวงแรงงาน รวมทั้งหน่วยงานรัฐอื่น ๆ ที่สมัครใจ เพื่อ ผลักดันการดำเนินงานให้เป็นรูปธรรม ตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ เป็นต้นไป โดยมีระยะเตรียมการในปี ๒๕๕๖

มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ที่มาและความสำคัญ ๒. มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๖ ให้ สปสช.รับความเห็นของกระทรวงกลาโหม กระทรวงศึกษาธิการ สำนัก งบประมาณ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ เห็นควรเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านบุคลากร ด้านระบบข้อมูล การประสานงาน การกำหนดสิทธิประโยชน์ของกองทุนประกันสังคม กองทุนสวัสดิการ รักษาพยาบาลข้าราชการ และกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กลไกการจ่ายเงิน และอัตราการชดเชยตามกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติแต่ละกองทุน การสื่อสารทำความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชนให้ได้รับทราบ ข้อเท็จจริง ประโยชน์ และผลกระทบของการทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางในการ จัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายและระบบข้อมูลด้านบริการสาธารณสุข (National Clearing House) ระบบตรวจสอบการดำเนินงานที่ชัดเจนและเป็นกลางเพื่อควบคุมแนวทางการ จัดสรรทรัพยากรทั้งในเชิงประสิทธิภาพและความเป็นธรรมให้กับผู้ที่อยู่ภายใต้แต่ ละกองทุน และหาข้อตกลงเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานให้เป็นที่ยุติ ก่อนเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ ความเห็นชอบ ไปพิจารณาดำเนินการด้วย

รายจ่ายสุขภาพภาครัฐ และภาคเอกชน ปี 2537-2553 ที่มา: บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ 2537-2553, สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ

National Clearing House Progression National Clearing House

ขอบเขตภารกิจการบริหารจัดการ ข้อดีแปดประการที่สปสช.จัดให้ ระบบสวัสดิการพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขอบเขตภารกิจการบริหารจัดการ ข้อดีแปดประการที่สปสช.จัดให้ การบริหารจัดการระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลสำหรับ อปท. ครอบคลุมภารกิจเพื่อให้ อปท.มีหลักประกันสุขภาพที่มั่นใจและมี ประสิทธิภาพ จำนวน ๘ ระบบงานหลัก ได้แก่ ระบบลงทะเบียนผู้มีสิทธิ ระบบการขอชดเชยค่าบริการ ระบบการจ่ายเงินให้กับหน่วยบริการ ระบบรับเรื่องร้องทุกข์ร้องเรียน (call center) การตรวจสอบเวชระเบียน (audit system) การบริหารระบบ (system management) ติดตามประเมินผลสถานะสุขภาพของ อปท. วิเคราะห์ข้อมูลไปใช้ในโครงการเพื่อสร้างสุขภาวะที่ดีของ อปท.

ความก้าวหน้าการลงทะเบียนผู้มีสิทธิ ๑๐.๐๐ น. วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๖

Time Frame การลงทะเบียนบุคลากรสิทธิข้าราชการส่วนท้องถิ่น

การดำเนินการเพื่อตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประชุมร่วม สปสช. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนอปท. และตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความเห็นชอบร่วมกันจำนวน ๗ ครั้ง (๒,๒๕ กค ๕๕/๒๑ สค.๕๕/๘,๑๖ ตค.๕๕/๑๙,๒๑ ธค.๕๕/๓ มค.๕๖/ ๔ กพ.๕๖) พิธีลงนามบันทึกความร่วมมือและ MOU ระหว่างผู้แทน/ผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยมีนรต.เป็นประธาน (๖กพ.๕๖) เสนอต่อรมว.สธ.ประธานคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติลงนาม (๑๙ มีค.๕๖) เสนอต่อ สลค.เพื่อนำเข้าครม.(๒๑ มีค.๕๖) เสนอร่างพรฎ.ต่อครม. ๒๖ มีค.๕๖ และสลค.ให้นำเรื่องเสนอเข้าคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องก่อนเข้าครม. คณะที่ ๕ (ฝ่ายสังคม) ซึ่งมีท่านพงษ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน คณะกรรมการกลั่นกรอง โดยท่านพงษ์เทพ อนุมัติหลักการตามร่าง พรฎ. ส่งกฤษฎีกาตรวจพิจารณาโดยให้รับความเห็นส่วนราชการที่เกี่ยวข้องประกอบการพิจารณาด้วย รอ ครม.อนุมัติ

การดำเนินการด้านกองทุนสวัสดิการพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๒๖ มี.ค.๕๖ ประชุมอนุฯการเงินการคลังฯท้องถิ่น มีมติจัดสรรเงิน ๓,๕๐๐ + ๕๖๑ ล้านบาท โดยตั้งจ่ายจากเงินอุดหนุนทั่วไปเพื่อส่งเข้ากองทุนฯรักษาพยาบาลอปท. ๑๗ มิ.ย.๕๖ ประชุมหารือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและสปสช. ณ ห้องประชุม ๓๒๐๑ ชั้น ๒ อาคาร ๓ สถ. เรื่องกองทุนค่ารักษาพยาบาล ที่อาจไม่เพียงพอ ๒๕ มิ.ย.๕๖ ประชุมหารือที่ทำเนียบ โดยมี รมว.สธ ท่านวราเทพ รัตนากร และ ท่านประชา ประสพดี สำนักงบ, กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานการกระจ่ายอำนาจ และสปสช หารือเรื่องงบ ๔,๐๖๑ ล้าน ว่าเป็นงบที่ตัดมาจากเงินอุดหนุนทั่วไปที่จะส่งให้อปท. โดยอปท.ต้องไปแก้ไขระเบียบให้สามารถส่งมอบให้สปสช.ได้ โดยขอให้ส่งเป็นงวดโดยส่งก่อนมีการรักษา ส่วนกรณีที่อาจมีค่าใช้จ่ายมากกว่า ๔,๐๖๑ ล้านบาท ทางท่านวราเทพ รับไปเอาเข้าประชุมอนุฯการเงินการคลังฯท้องถิ่น อีกครั้งว่าจะมีแนวทางในการจัดการอย่างไร ๑๖ ก.ค.๕๖ การประชุมคณะอนุกรรมการด้านการเงิน การคลังและงบประมาณ ครั้งที่ ๕/๒๕๕๖ โดยมีท่านวราเทพ รัตนากรเป็นประธาน เห็นชอบให้จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้ตั้งงบประมาณปี ๒๕๕๗ ให้สปสช.เพื่อเป็นกองทุนในการรักษาพยาบาลข้าราชการ/พนักงานองค์กรส่วนท้องถิ่น จำนวน ๔,๐๖๑.๙๕ ล้านบาท แบ่งเป็น ๒ งวด งวดแรกภายในเดือนตุลาคม ๒๕๕๖ ร้อยละ ๕๐ และงวดที่ ๒ ภายในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ อีกร้อยละ ๕๐ เห็นชอบให้มีการกันเงินอุดหนุนทั่วไปไว้จำนวน ๓,๐๐๐ ล้านบาท เพื่อเป็นเงินสำรองสำหรับการจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลของข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่นให้แก่สปสช. เห็นชอบให้จัดสรรเงินเป็นค่าบริหารจัดการให้สปสช.โดยในปีแรกในอัตราร้อยละ ๑.๕ ของเงินที่นำส่งเข้ากองทุน ตามที่ได้มีการทำความตกลงและกำหนดไว้ในร่างพระราชกฤษฎีกา

National Clearing House ๑. ดำเนินการในด้านประสาน กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การลงนามบันทึกความร่วมมือ ระหว่างกรมบัญชีกลาง และ สปสช. วันที่ ๒๖ ก.พ.๕๖ การเจรจาร่วมระหว่างสำนักงานประกันสังคมและ สปสช.เพื่อหารือแนวทางการทำงานร่วมกันในการให้ สปสช.เป็น NCH วันที่ ๒๙ มี.ค๕๖และ ๑๓ มิ.ย.๕๖ การประชุมร่วมกับตัวแทนกรม บัญชีกลางเพื่อทำความเข้าใจในรายละเอียดเพิ่มเติม การนำเสนอการออกแบบระบบการเบิกชดเชยสิทธิสวัสดิการข้าราชการให้กรมบัญชีกลาง เมื่อวันที่ ๑๐ เม.ย.๒๕๕๖ การประชุมหารือ สวรส สกส กรมบัญชีกลาง และประกันสังคม โดยมี รมต.สธ.เป็นประธาน ๒ พ.ค.๕๖ การประชุมร่วมกรมบัญชีกลางและสปสช.เรื่อง GFMIS ๑๙ มิ.ย.๕๖ การทำความเข้าใจเรื่องสิทธิซ้ำซ้อนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อ ๑๑ ก.ค.๕๖ การดำเนินการเตรียม ความพร้อมแก่หน่วยบริการ การประชุมผู้แทนโรงพยาบาลเพื่อหารือและทำความเข้าใจเรื่องการออกแบบระบบการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์สิทธิสวัสดิการข้าราชการและสิทธิ อปท.เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๖ และ ระบบ National Clearing House เมื่อ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖ การชี้แจงหน่วยบริการนำร่อง NCH เมื่อ ๒ ส.ค.๕๖ ประมาณ ๒๐ หน่วยบริการ การประชุมชี้แจงหน่วยบริการทั่วประเทศ ประมาณปลายเดือนสิงหาคม ๒๕๕๖ ดำเนินการพัฒนาสำนักงานกลางจัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายและระบบข้อมูลบริการสาธารณสุข การเตรียมการทางด้านอาคารสถานที่และอุปกรณ์สำนักงาน การเตรียมการทางด้าน IT การเตรียมการด้านงานทะเบียนสิทธิ คาดว่าว่าจะแล้วเสร็จ ๑๔ ส.ค.๕๖ การเตรียมการโปรแกรมการเบิกจ่ายและประมวลผล เสร็จสมบูรณ์ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ การเตรียมการทางด้านบุคคลากรและการฝึกอบรม เริ่มทยอยรับตั้งแต่ กรกฎาคม ๒๕๕๖ การเตรียมระบบตอบคำถามหน่วยบริการ เริ่ม ๑ สิงหาคม ๒๕๕๖ การเตรียมการระบบรับเรื่องรองเรียนและระบบการส่งต่อ การเตรียมการด้านการตรวจสอบการชดเชยค่าบริการ(audit) ๒. ๓. การจัดส่งร่าง TOR ให้กรมบัญชีกลางและ สปส. ๑๙ ก.ค.๕๖ การประชุมหารือร่วมกับ สปส. เพื่อจัดทำ TOR ๑ ส.ค.๕๖