การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมทันตสุขภาพในคลินิกเด็กดีจากแบบจำลองความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุ Development of a Dental Health Promotion Program in Well Baby.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย
Advertisements

สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต
รูปแบบการวิจัย Research Design
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย
การจัดระบบบริการ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0 – 2 ปี ใน รพ.สต.
Workshop แบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม
เรียนรู้ลูกค้า – เข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภค
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย.
สัมมนา รพ. ส่งเสริมสุขภาพ ครั้งที่ 2 ทำไมต้องเป็น รพ. ส่งเสริมสุขภาพ ทำไมระดับจังหวัด สสจ. ไม่รักษา ระดับอำเภอ สสอ. ไม่รักษา แต่ PCU และ สอ. มีครบทุกอย่าง.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
Practical Epidemiology
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ข้อเสนอ การพัฒนาระบบควบคุมและป้องกันโรค
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
การส่งเสริมสุขภาพ เด็กไทยในวันนี้
TRANSFORMER INTERNAL AUDITOR
นวตกรรมสุขภาพ.
โครงการ ฟันดีมีสุข (Dental Smiles).
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
โครงการอาหารปลอดภัย ปลอดโรคในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
วิเคราะห์พฤติกรรมที่เป็นปัญหา
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข งบประมาณ ปี การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน โครงการจัดทำชุดความรู้ประสบการณืการจัด กิจกรรมของครู โครงการจัดการความรู้
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน มีนาคม - มิถุนายน 2549
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
CBL ภูหลวง.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ภาพรวม Six Plus Building Block
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
การพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพโดยใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Health Information System Development With Participation By Social Networking)
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมทันตสุขภาพในคลินิกเด็กดีจากแบบจำลองความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุ Development of a Dental Health Promotion Program in Well Baby Clinic by Using Caries Prediction Model.

ที่ ทญ ทิพาพร ออกแบบไว้ ทบทวนวรรณกรรม เรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุในเด็กเล็ก เก็บข้อมูล จาก คลินิกเด็กดี ของ ศอ 3 ปี สร้างสมการทำนายความเสี่ยงของปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค พัฒนารูปแบบการดำเนินงานใน คลินิกเด็กดี แล้วประเมินผล 5 ปี

ที่ ทญ ทิพาพร ออกแบบไว้ Review literature for caries risk factors Collect data from well baby clinic for 3 years Develop arithmetic prediction model Develop implementation model in carried out in Day Care Center 5 years

เปลี่ยนการออกแบบ ดำเนินาการทดลองในชุมชน 1-2 ปี มากที่สุดไม่เกิน 3 ปี เมื่อปี 2543 มีโครการวิจัยสุขภาพเด็กไทยระยะยาวเกิดขึ้น ซื้อข้อมูลของโครงการวิจัยนั้น นำมาสร้างสมการทำนายความเสี่ยง ดำเนินาการทดลองในชุมชน 1-2 ปี มากที่สุดไม่เกิน 3 ปี

Change design Year 2000 Prospective cohort study carried out for 3 years Purchase data of that study and develop arithmetic model Implement in (a) community(ies) for 1-2 years Maximum not more than 3 years

ฟันผุ ระดับของปัจจัยการเกิดโรคฟันผุในเด็ก สภาวะของครอบครัว สภาวะของชุมชน สภาวะของครอบครัว รูปแบบการเลี้ยงดู ฟันผุ การมีขนมขาย ค่านิยมเรื่องสุขภาพ สภาวะทางเศรษฐกิจสังคม สภาวะการเลี้ยงดู การกินนม การให้อาหารเสริม ปัจจัยในช่องปาก

Level of risk factors Community condition Family condition Child care pattern Dental caries Availability of snack Value of Health Socio- economic status Parental care feeding Supplement food Intraoral factor

ลักษณะการใช้เงิน ซื้อข้อมูลที่มีคนหาไว้แล้วในราคาค่อนข้างแพง ตัวแปลละ 7000 บาท จ่ายเงินให้นักศึกษาหรือเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ หาข้อมูลเพิ่ม จ่ายค่าวิเคราะห์ข้อมูล เดินทางไปเจรจางาน เดินทางไปเก็บข้อมูลเพิ่มเติม ค่าจ้างเจ้าหน้าที่