งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต
กรมอนามัย และ ศูนย์อนามัยที่ 1-12

2 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน
Company LOGO 1 เพื่อศึกษาสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน 2 เพื่อพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต 3 เพื่อเสนอทางเลือกการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเชิงระบบ

3 Janchua, Pannarunuthai. Effects of Early Child Care in PCU. 2009.
หลักการพยากรณ์ Company LOGO ตัวชี้วัดด้านสุขภาพที่ใช้เป็นเกณฑ์การประเมินประสิทธิผล การดูแลเด็กปฐมวัยแต่ละตัวล้วนเป็นปัจจัยมีอิทธิพลต่อพัฒนาการเด็กทั้งสิ้น เมื่อสถานะสุขภาพไม่ดีย่อมส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการล่าช้ามากขึ้น ดังนั้น ถ้าตัวชี้วัดด้านสุขภาพส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์ พัฒนาการเด็กก็ไม่น่าจะผ่านเกณฑ์ด้วย จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับขนาดของอิทธิพลด้านสุขภาพและสังคม พบว่า สุขภาพและการเข้าถึงบริการคุณภาพมีความสัมพันธ์กับพัฒนาการเด็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%* และ 99%** Janchua, Pannarunuthai. Effects of Early Child Care in PCU

4 ขนาดของอิทธิพลด้านสุขภาพและสังคม
Company LOGO Indicators Effect Size (OR) Min Max สุขภาพแรกคลอด Birth Asphyxia 0.50* 0.80* Low Birth Weight 1.70* 3.90* การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 0.54** ภาวะโภชนาการ ภาวะเตี้ย (H/A, W/H)  0.95* กินไม่ได้สัดส่วน การเข้าถึงบริการคุณภาพ ปอดอักเสบ, ท้องร่วง, ฟันผุ  0.38* 0.73* วิกฤติครอบครัว โรคเรื้อรัง, พิการ  0.93**   * P-value < ** P-value <0.001   Janchua, Pannarunuthai. Effect Size on Early Child Development: A Systematic review and Meta-analysis

5 Estimated ECD = 71.98 - 84.34 % X = 78.16 Indicators Evidences %
ECD Effect Size (OR) Delayed ECD Normal ECD %   * P< ** P<0.001   Min Max 1. สุขภาพแรกคลอด - ภาวะขาดอ๊อกซิเจน 30 : พันการเกิดมีชีพ 2.66 0.50* 0.80* 1.33 2.13 97.87 98.67 - น้ำหนักแรกเกิด < 2,500 กรัม 8.60 1.70* 3.90* 14.62 33.54 66.46 85.38 2. เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ < 6 เดือน ( ) 71.30 0.54** 38.50 61.50 3. ภาวะโภชนาการ ภาวะเตี้ย 11.90 0.95* 11.31 88.70 กินไม่ได้สัดส่วน 44.00 66.00 41.80 62.70 37.30 58.20 4. การเข้าถึงบริการ ท้องร่วง 8.70 0.38* 0.73* 3.31 6.35 93.65 96.69   คุณภาพ ปอดบวม 4.50 1.71 3.29 96.72 98.29 ฟันผุ 60.00 80.00 22.80 58.40 41.60 77.20 5. ภาวะวิกฤติครอบครัว โรคเรื้อรัง พิการ 6.00 32.00 0.93** 5.58 29.76 70.24 94.42 Estimated ECD = % X = 78.16

6 Estimated Long Term Effects
Changing Effect (%) Estimated Change (%) ECD = 78.16 ECD = 93.82 Complete high school 18 + 14 + 17 College job training 17 + 13 + 16 Had a job Mental retard 20 - 16 - 19 Arrested Serious crime 14 - 11 - 13 Public assistance (Osborn and Milbank,1987 cited in Gordon Cleveland and Michael Krashinsky,1998)

7 Estimated Cost-Benefit
งบประมาณส่งเสริมและป้องกันโรคสู่ประชาชน ระดับจังหวัด,อำเภอ = บาท/คน ระดับตำบล = บาท/คน (สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. 2550, สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย) Cost-Benefit Ratio Quality of Care = 1: 7.16 Home Visit = 1: 5.63 (Chok-wan Chan. 2003) Estimated Benefit Q-Care: 145 – 269 ฿ H-Visit: 114 – 211 ฿

8 Estimated ECD = 93.22 - 94.41 % X = 93.82 Indicators Wanted Evidences
ECD Effect Size (OR) Normal ECD   * P< ** P<0.001   Old New Min Max 1. สุขภาพแรกคลอด - ภาวะขาดอ๊อกซิเจน 30 : พันการเกิดมีชีพ 2.66 0.5* 0.8* 97.87 98.67 - น้ำหนักแรกเกิด < 2,500 กรัม = 7% 8.60 2.50   1.7* 3.9* 90.25 95.75 2. เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ < 6 เดือน = 75% 71.30 18.50 0.54** 90.01 3. ภาวะโภชนาการ ภาวะเตี้ย 11.9 10.00 0.95* 90.50 กินไม่ได้สัดส่วน 44-66 4. การเข้าถึงบริการ ท้องร่วง 8.70 0.38* 0.73* 93.65 96.69   คุณภาพ ปอดบวม 4.50 96.72 98.29 ฟันผุ 60-80 13.50 90.15 94.87 5. ภาวะวิกฤติครอบครัว โรคเรื้อรัง พิการ 6-32 0.93** 90.70 94.42 Estimated ECD = % X = 93.82

9 กรอบแนวคิด พัฒนาการเด็ก Indicators สุขภาพแรกคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
Company LOGO พัฒนาการเด็ก Indicators สุขภาพแรกคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ภาวะโภชนาการ การเข้าถึงบริการคุณภาพ วิกฤติครอบครัว Evidences (%) X Early Child Development Effect Size Long Term Changing Effects Cost-Benefits Ratio งบประมาณส่งเสริมป้องกันโรค Quality of Care Home Visit Estimated Early Child Development Estimated Long Term Effects Estimated Cost-Benefits Estimated Health Indicators

10 ระเบียบวิธีวิจัย Prediction Research
Company LOGO Prediction Research กลุ่มเป้าหมาย : เด็กปฐมวัยในประเทศไทย การเก็บข้อมูล : สัมภาษณ์ ทดสอบพัฒนาการ ทบทวนเอกสาร เครื่องมือ : แบบสอบถาม, DenverII, แบบประเมินภาวะโภชนาการ, สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก การวิเคราะห์ : OR, Percentage, Mean รายงาน : ตารางพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต สรุป : ทางเลือกการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเชิงระบบ

11 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในปัจจุบัน และการพยากรณ์ผลกระทบในอนาคต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google