งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
การบูรณาการกลุ่มวัย กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ

2 กลุ่มสตรีและเด็ก

3 ประเด็นปัญหาสุขภาพ ฟันผุในเด็ก ๐-๓ ปี

4 สถานะสุขภาพช่องปากเด็กอายุ 18-24 เดือน
เกณฑ์ฟันผุ 3 ปี 57 %

5 ข้อเสนอแนะ ๑.บูรณาการกับกลุ่มงานเวชในกระบวนการดูแลงานคลินิกเด็กดีWCC
๒.การทำงานเชิงรุกFamily care Team

6 โรคติดต่อในเด็ก โรคปอดบวม โรคไข้หวัดใหญ่ โรคอุจารระร่วง มือเท้าปาก
ประเด็นปัญหาสุขภาพ โรคติดต่อในเด็ก โรคปอดบวม โรคไข้หวัดใหญ่ โรคอุจารระร่วง มือเท้าปาก

7 ข้อมูลโรค มือ เท้า ปาก คชสารกลาง
โรคมือ เท้า ปาก อำเภอ อัตราป่วยมัธฐาน ๕ ปี ย้อนหลัง ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ (มค-มีค.) จำนวน อัตราป่วย ๔.อยุธยา ๑๒ ๘.๕ ๑๗ ๑๒.๑ ๑๑ ๗.๘ ๕.บางบาล ๒.๙ ๕.๘ ๖.อุทัย ๔.๐๘ ๑๘ ๓๖.๗ ๑๐.๒

8 ข้อมูลโรคไข้หวัดใหญ่คชสารกลาง
อำเภอ อัตราป่วยมัธยฐาน ๕ ปี ย้อนหลัง ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ (มค-มีค) จำนวน อัตราป่วย  อัตราป่วย ๔.อยุธยา ๑๕๐ ๑๐๗.๓๓ ๓๔๗ ๒๔๘.๒๙ ๓๙๔ 281.92 ๕.บางบาล ๑๕ ๔๓.๕๒ ๔๕ ๑๓๐.๕๖ ๖๕  188.59 ๖.อุทัย ๑๔ ๒๘.๖๐ ๕๓ ๑๐๘.๒๙ ๒๒  44.95

9 อัตราป่วยมัธฐาน ๕ ปี ย้อนหลัง
โรคปอดบวมคชสารกลาง อำเภอ อัตราป่วยมัธฐาน ๕ ปี ย้อนหลัง ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ (มค-มีค) จำนวน อัตราป่วย ๔.อยุธยา ๔๐๗ ๒๙๑.๒๓ ๔๒๔ ๓๐๓.๓๙ ๒๐๒ ๑๔๔.๕๔ ๕.บางบาล ๔๖ ๑๓๓.๔๖ ๕๖ ๑๖๒.๔๘ ๔๒ ๑๒๑.๘๖ ๖.อุทัย ๘๐ ๑๖๓.๔๖ ๗๔ ๑๕๑.๒๐ ๓๐ ๖๑.๓๐

10 ข้อเสนอแนะ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
๑.มีการตกลงร่วมกันของผู้ปกครองว่าถ้ามีเด็กป่วยไม่ ต้องให้เด็กมา ๒.ควรมีการคัดกรองสุขภาพเด็กทุกเช้าเพื่อรีบคัดแยก เด็กป่วย ๓.แนะให้ให้ครูใช้ACL-gel หลังจากสัมผัสเด็ก ๔.ขอรับสนับสนุนงบประมาณขอวัสดุ/อุปกรณ์ ควบคุมโรค

11 กลุ่มวัยเรียน

12 เริ่มอ้วน และอ้วน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ไม่เกินร้อยละ๑๐)
ประเด็นปัญหาสุขภาพ เริ่มอ้วน และอ้วน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ไม่เกินร้อยละ๑๐)

13 เด็กนักเรียน (อายุ 5-14 ปี) มีภาวะอ้วน โซนคชสารกลาง
ร้อยละ ฐานข้อมูล Data center สสจ.อยุธยา เทอม 2/2556 (ต.ค. – พ.ย.) เทอม 1/2557 (พ.ค. – ก.ค.) เทอม 2/2557 (ต.ค. – ธค.)

14 ข้อเสนอแนะ ๑.ให้หน่วยงานสาธารณสุขประชุมครูแนะแนว/ครูอนามัย
โรงเรียนเพื่อให้ครูไปชี้แจงผู้ปกครองในวันปฐมนิเทศ ๒.มีการจัดทำโครงการแก้ไขปัญหาเด็กมีภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน และติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ๓.ดำเนินการชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูงและคีย์ข้อมูลตาม ระยะเวลาที่กำหนด ปีละ ๒ ครั้ง ภาคเรียนที่ ๑(พค.,-กค.) ภาคเรียนที่ ๒ (ตค.-ธค)

15 กลุ่มวัยรุ่น

16 ประเด็นปัญหาสุขภาพ อัตราการคลอดมีชีพของหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ปี มีแนวโน้มสูงขึ้น (๕๐ต่อพันประชากร)

17 ที่มา:ข้อมูลจาก 43 แฟ้มของ สสจ.พระนครศรีอยุธยา

18 ข้อเสนอแนะ -ให้ดำเนินการอำเภออนามัยเจริญพันธุ์ให้ผ่านเกณฑ์ ๑ อำเภอ ปี ๒๕๕๘ -คชสารกลาง- บางบาล -ผ่านแล้ว-พระนคร,อุทัย ขอให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

19 อายุ ๑๕-๒๔ ปีรับการบำบัดร้อยละ๓๔.๒
ประเด็นปัญหาสุขภาพ ยาเสพติด อายุ ๑๕-๒๔ ปีรับการบำบัดร้อยละ๓๔.๒

20 ข้อเสนอแนะ -ป้องกันโดยใช้กิจกรรม TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียน,ชุมชน
- จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น หรือ Friend Corner ในโรงเรียน

21 กลุ่มวัยทำงาน

22 ประเด็นปัญหาสุขภาพ โรคเรื้อรัง -อัตรารายใหม่สูงขึ้น
-อัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือดสูงขึ้น -อัตราการควบคุมน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตได้ดียังต่ำ

23

24

25

26

27

28

29 เป้าหมายการดำเนินงาน
ลดอัตราตาย ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ เพิ่มอัตรา Good Control สนับสนุนการจัดการตนเอง การจัดการเชื่อมโยงชุมชน Treatment & Change Behavior การจัดการ Risk factor

30 ยาเสพติด ประเด็นปัญหาสุขภาพ
ช่วงอายุผู้เข้ารับการบำบัดมากที่สุด ๒๕-๕๙ ปี ร้อยละ ๖๘.๘๒

31 ข้อเสนอแนะ ๑.การบำบัดรักษายาเสพติด
-ติดตามระหว่างบำบัดและภายหลังการบำบัดในการวางแผนการดำเนินงาน(ดำเนินการภายในคปสอ. จนท.รพ. สสอ.รพสต.และอสม.) -การดำเนินเกณฑ์การประเมินและรับรองคุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด(HAยาเสพติด) ๒.การป้องกันยาเสพติด กิจกรรมTO BE NUMBER ONE ในชุมชน,สถานประกอบการ

32 กลุ่มวัยสูงอายุ

33 ประเด็นปัญหาสุขภาพ ๑.การบูรณาการคัดกรองผู้สูงอายุ(ร้อยละ ๖๐ ) และการแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอา

34 ข้อเสนอแนะ ๑.เพิ่มเติมทักษะในการคัดกรองให้กับ อสม.
ก่อนออกคัดกรอง ผู้สูงอายุ ๒. CUPการสนับสนุนอุปกรณ์/เอกสารในการเก็บข้อมูล๓.ส่งเสริมกิจกรมผู้สูงอายุระยะยาว(LTC) ให้ครอบคลุมเพิ่มขึ้น

35 อาหารปลอดภัย ตรวจโดยรถMOBILEที่สสจ.ส่งไปช่วย
ตรวจอาหารใน รร. ตกมาตรฐาน ร้อยละ 6.17 บอแร็กซ์ รร.อยุธยานุสรณ์ coliform ในตู้น้ำดื่ม รร.วัดรัตนชัย น้ำมันทอดซ้ำที่คลองตะเคียน ฟอร์มาลีนในตลาดหัวรอ

36 ประสานอปท.เพื่อแก้ไขปัญหา
ข้อเสนอแนะ ประสานอปท.เพื่อแก้ไขปัญหา

37 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น อันเนื่องมาจากมลพิษที่ปล่อยออกจากครัวเรือน ชุมชน โรงงาน และสถานประกอบการ จากการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่สำคัญ พบว่า 1.ปัญหาขยะทั่วไป ขยะติดเชื้อ และของเสียอันตราย มีบ่อขยะจำนวน 23 บ่อ ปริมาณขยะ วันละ 1,230 ตัน/วัน วิธีการกำจัดขยะส่วนใหญ่ คือ กองบนพื้นในที่โล่งโดยไม่ถูกสุขลักษณะ 2. ปัญหามลพิษจากท่าขนถ่ายสินค้า

38 สถานการณ์บ่อขยะของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ลำดับ สถานที่กำจัด ปริมาณขยะ วิธีกำจัด เจ้าของ 1. ต.บ้านป้อม อ.อยุธยา(ปัจจุบันไม่มีบ่อขยะแห่งนี้ แล้ว เปลี่ยนเป็นบ่อขยะที่ตำบลมหาพราหมณ์ อ.บางบาล เป็นระบบฝังกลบถูกหลักสุขาภิบาล) 140 ตัน/วัน กองบนพื้น (Open Dumping) เทศบาลนครฯ มีอปท.มาทิ้งรวม จำนวน 15 แห่ง ราชภัฎ 1 แห่ง 2. ต.สามกอ อ.เสนา 53 ตัน/วัน ท.เสนา มี อปท.มาทิ้งรวม 14 แห่ง โรงงานเบียร์ทิพย์ 1 แห่ง 3. บ้านโพธิ์เอน ต.โพธิ์เอน อ.ท่าเรือ 30 ตัน/วัน ท.ท่าเรือ มีอปท.มาทิ้งรวม 5 แห่ง บริษัท 3 แห่ง รพ.ท่าเรือ 1 แห่ง 4. ม.11 ต.ศาลาลอย อ.ท่าเรือ 10 ตัน/วัน ท.ท่าหลวง มีอปท.มาทิ้งรวม 5 แห่ง 5. ม. 3 ต.บางระกำ อ.นครหลวง 25 ตัน/วัน ท.นครหลวง มีอปท.มาทิ้งรวม 3 แห่ง 6. บ.หนองผีหลอก ม.1 ต.ภาชี อ.ภาชี 3 ตัน/วัน ท.ภาชี 7. ม.12 ต.อุทัย อ.อุทัย 15 ตัน/วัน ท.อุทัย 8. บ.เจ้าเสด็จ ม.2 ต.เจ้าเจ็ด อ.เสนา 4 ตัน/วัน ท.เจ้าเจ็ด 9. บ.ล่าง ม.1 ต.บางนมโค อ.เสนา 8 ตัน/วัน 10. ม.1 ต.ลาดบัวหลวง อ.ลาดบัวหลวง 1.2 ตัน/วัน ท.ลาดบัวหลวง 11. ม.4 ต.สามเมือง อ.ลาดบัวหลวง 5 ตัน/วัน ท.สามเมือง 12. บ.ช้างใหญ่ ม.2 ต.ช้างใหญ่ อ.บางไทร 6 ตัน/วัน ท.ราชคราม

39 สถานการณ์บ่อขยะของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ลำดับ สถานที่กำจัด ปริมาณขยะ วิธีกำจัด เจ้าของ 13. ม.2 ต.พิตเพียน อ.มหาราช 3 ตัน/วัน กองบนพื้น ท.โรงช้าง 14. ม.3 ต.บางระกำ อ.นครหลวง 6 ตัน/วัน ท.บางปะหัน 15. บ.หนองตาบัว ม.5 ต.บ้านสร้าง อ.บางปะอิน 12 ตัน/วัน ท.บ้านสร้าง 16. ม.5 ต.ลำตาเสา อ.วังน้อย 40 ตัน/วัน ท.ลำตาเสา 17. บ.บางระกำ ม.3 ต.บางระกำ อ.นครหลวง 8 ตัน/วัน อบต.แม่ลา 18. 60/1 ม.5 ต.บางพลี อ.บางไทร 45 ตัน/วัน กองบนพื้นที่มีการควบคุม(Controlled Damp) เอกชน (อยู่ในพื้นที่ ท.บางไทร) รับขยะทั้งภาครัฐและเอกชน 19. ม.12 ต.อุทัย อ.อุทัย 70 ตัน/วัน (Open Dumping) เอกชน (อยู่ในพื้นที่ อบต.อุทัย)รับขยะจากท.อโยธยาและจังหวัดใกล้เคียง 20. ม.11 ต.เชียงรากน้อย อ.บางปะอิน 60ตัน/วัน เอกชน (อยู่ในพื้นที่ ท.เชียงรากน้อย) รับขยะจากท.ลำตาเสา อ.วัน้อย ,ท.เชียงรากน้อย และหน่วยงานอื่นภายในจังหวัดฯ

40 สถานการณ์บ่อขยะของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ลำดับ สถานที่กำจัด ปริมาณขยะ วิธีกำจัด เจ้าของ 21. -ม.7,ม.10,12 ต.กุฎี อ.ผักไห่ 0.9 ตัน/วัน เตาเผาขยะขนาดเล็ก จำนวน 3 ที่ อบต.กุฎี อ.ผักไห่ 22. -วัดบ้านหีบ ต.บ้านหีบ อ.อุทัย - วัดนางชี ต.บ้านหีบ อ.อุทัย 3 ตัน/วัน/เตา เตาเผาขยะขนาดเล็ก จำนวน 2 ที่ อบต.บ้านหีบ อ.อุทัย 23. -ม.3,ม.4 ต.พระแก้ว อ.ภาชี 1.1 ตัน/วัน อบต.พระแก้ว อ.ภาชี

41 ข้อเสนอแนะ ๑.อำเภอจะต้องประสานงานกับอปทในการดำเนินการเฝ้าระวังและควบคุมเหตุราญตามพรบ สาธารณสุข ๒.วางแผนร่วมกับอปท ในการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินการควบคุม

42


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google