องค์กรร่วมลดโลกร้อน ด้วยการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
TGO/CFP-P บริษัท การประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์……………… ขอบเขตการศึกษา..B2B..or..B2C ชื่อที่ปรึกษา
Advertisements

บริษัท การประเมินวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์………………
โครงการพลังงานสัญจร “เปิดโลกปิโตรเลียม” บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
นโยบายและแนวทาง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของกรุงเทพมหานคร
โครงสร้างรายงานสถานการณ์ พลังงานจังหวัด
ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2554 นางฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
Global Warming.
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
Alternative Energy Sources and Energy Mix Policy in Thailand
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
and Sea floor spreading
อิทธิพลของสภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อ แมลงศัตรูพืช
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
PATCHARAPORN INRIRAI ID
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2555.
เป้าประสงค์ 1 เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) 2 ส่งเสริมให้ภาคสาธารณสุขแสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
การประชุมคณะทำงาน PMQA หมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 10)
ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทย(Energy Balance)
ก๊าซเรือนกระจกกับพลังงาน
Double our business while reducing our environmental impacts and improving people’s health and livelihoods The Goal เราตั้งใจที่จะขยายธุรกิจโดยเติบโตเป็นสองเท่าขณะเดียวกันเราจะลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมพร้อมทั้งช่วยยกระดับสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีและส่
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
วิธีการเก็บข้อมูล เพื่อกรอกลงในแบบฟอร์มการจัดทำบัญชีรายการ
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
โรงพยาบาลหนองวัวซอ จ.อุดรธานี วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
การพัฒนาแบบยั่งยืน Sustainable Development
เริ่มเข้าโครงการ Carbon Footprint เพราะอะไร?
ถัดไป. ภาวะโลกร้อน หมายถึง ภาวะที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ถัดไ ป.
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
จิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
RDF/ MSW Industry for Thailand
แนวโน้มของเทคโนโลยีที่ น่าจะมีใช้ในอนาคต
สภาวะโลกร้อน ร้อน จัดทำโดย นายอรรถพล เพ็งพันธ์. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซี่งปรากฏการณ์ทั้งหลายเกิดจากภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมา จากการปล่อยก๊าซพิษต่าง.
ภาวะโลกร้อน.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
Energy crop and Renewable energy in Thailand. วัตถุประ สงค์  ส่งเสริมอาชีพให้กับสมาชิกและครอบครัวเกษตรกร  จัดตลาดรับซื้อผลผลิตพืชพลังงาน ราคาประกันและ.
ภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคน ต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอซซิล เช่น ถ่าน หิน น้ำมัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์กรร่วมลดโลกร้อน ด้วยการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร CarboNfootprint for Organization 26 มีนาคม 2555 “รวมพลัง ฝ่าวิกฤต โลกร้อน ด้วยการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์” กรมอนามัย โรงแรมมิราเคิล

ปัจจุบัน ประเทศต่างๆทั่วโลกแจ้งยืนยันที่จะลด ปัจจุบัน ~ 380 ppm ≤ 2˚C : 450 ppm CO2e Annual world emission today 48 GtCO2e, Year 2020 BAU : 56 GtCO2e; 44 GtCO2e estimated to limit the warming to 2˚C ปัจจุบัน ประเทศต่างๆทั่วโลกแจ้งยืนยันที่จะลด ก๊าซเรือนกระจกรวมกันแล้วได้ประมาณ 60% ของปริมาณที่จะควบคุมอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 2˚C

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ของประเทศไทย ในปีพ. ศ. 2543 (ค. ศ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ของประเทศไทย ในปีพ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ~ 229 MtCO2e Emission (1000 tons) 69.6% 22.6% 4.1% 7.2% -3.5% Sources of emission by sector

การคาดการณ์ปริมาณก๊าซเรือนกระจกของไทย (BAU) ปี พ.ศ. 2593 (2050) (MtCO2e) ที่มา: การศึกษาแนวทางการพัฒนาเพื่อจัดทำข้อมูลและแบบจำลองสำหรับ Emission Inventory ของประเทศไทย, 2553 (JGSEE)

สถานการณ์การลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทย (มี.ค. 2555) สถานการณ์การลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทย (มี.ค. 2555) โครงการ CDM ในประเทศไทยได้รับการรับรอง (ได้รับ Letter of Approval: LoA) แล้วจำนวน 168 โครงการ รวมปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงได้อย่างเป็นทางการ หรือปริมาณคาร์บอนเครดิตประมาณ 10.12 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า/ปี (MtCO2e/y) มีจำนวนผู้แสดงความจำนงกว่า 273 โครงการ มีโครงการที่ขึ้นทะเบียนแล้ว 67 โครงการ (~3.49 MtCO2e) และได้รับการรับรองจาก CDM EB แล้ว 11 โครงการ (1.04 M tCO2e/y) โครงการประเภท VER ประมาณ 2 MtCO2e/y รวม ประมาณ 12 MtCO2e/y + ???

Carbon Footprint for Products คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วยตลอดวัฏจักรหรือวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การขนส่ง การประกอบชิ้นส่วน การใช้งาน และการจัดการซากผลิตภัณฑ์หลังการใช้งาน โดยการคำนวณออกมาในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ปัจจุบันได้มีการให้เครื่องหมาย CFP ไปแล้ว 458 ผลิตภัณฑ์ (ก.พ. 2555)

Carbon Footprint for Organization คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร XX tons Organization

Operational Boundaries for Organization’s CFP Emissions from sources owned or controlled by a reporting entity (e.g. fuel combustion) Emissions from sources owned by another entity (e.g. grid electricity) GHG emissions from organization Direct GHG emissions Scope 1 Energy Indirect emissions Scope 2 Other indirect emissions Scope 3 ISO14064-1  Emissions from extraction and production of purchased materials and fuels, outsourced activities, waste disposal JVETS Boundary EU-ETS Boundary Principles: Relevance, Completeness, Consistency, Accuracy, Transparency

Activities under Operation Boundary Source: http://www.greenadvisor.fr/userfiles/image/GHG%20Protocol.jpg

กิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจกในองค์กร Scope 1: ลดจากกิจกรรมขององค์กรโดยตรง การประหยัดพลังงาน ลดการใช้เชื้อเพลิง – น้ำมันเตา การจัดเส้นทางขนส่ง บริการขนส่งมวลชน, Car pool สร้าง/ใช้ พลังงานหมุนเวียน : แสงอาทิตย์ ลม ประหยัดน้ำใช้ (กรณีผลิตเอง - ไฟฟ้า น้ำเสีย) การลดปริมาณของเสีย : 3R ปลูกต้นไม้ / ทำสวน Scope 2: ลดการซื้อ การประหยัดพลังงาน ลดการใช้ไฟฟ้าจาก grid – ลิฟท์ เครื่องปรับอากาศ แสงสว่าง และ อุปกร์ไฟฟ้าต่างๆ ประหยัดน้ำใช้ (จากการประปา) E- communication Scope 3: ลดการจ้าง การขนส่ง การกำจัดของเสีย

โครงการคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์กรนำร่อง ปี พ.ศ. 2553-54 โครงการนำร่องเพื่อหาแนวทางระเบียบวิธีการ และการคำนวณ 16 องค์กร อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย หน่วยราชการ เทศบาล ปี พ.ศ. 2555 โครงการนำร่อง 23 เทศบาล เพื่อนำไปสู่กิจกรรม “เมืองลดคาร์บอน (Low Carbon City)”

ผลประโยชน์ร่วมจากการลดคาร์บอน (Co-benefit) ลดค่าใช้จ่ายองค์กร สร้างวินัย สร้างความสัมพันธ์บุคลากร ส่งผลถึงวิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงระดับครอบครัว สร้างอาชีพที่เกี่ยวข้อง ลดการใช้ทรัพยากรของประเทศ เสริมสร้างเศรษฐกิจ

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization) Government Complex, Building B, Floor 9, 120 Chaengwatana Rd., Laksi, Bangkok 10210 Tel. 02 141 9790 Fax 02 143 8400 WWW.TGO.OR.TH