การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น วันที่ 25-27 เมษายน 2554 ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา

ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดฉะเชิงเทรา วัยรุ่นมีความรู้ มีทักษะชีวิตและพฤติกรรม อนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มีบุคลิกภาพความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรม มีจิตสาธารณะต่อสังคมและมีส่วนร่วมในการสร้างภาพพจน์ที่ดีแก่จังหวัด

ระดับประชาชน (วัยรุ่น) ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดฉะเชิงเทรา ภายใน ๔ ปี (๒๕๕๔-๒๕๕๗) ระดับประชาชน (วัยรุ่น) วัยรุ่นมีความรู้และทักษะชีวิตในการดูแลตนเองที่ถูกต้องและมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ ครอบครัวมีอบอุ่น และมีความเข้มแข็ง และมีความพร้อมในการดูแลวัยรุ่น (เอาใจใส่) โดยเข้าใจปัญหาและ การเปลี่ยนแปลง พัฒนาการตามวัย - ชุมชนเข้มแข็ง ให้ความสำคัญดูแลวัยรุ่น จัดเวทีแลกเปลี่ยนความคิด การแสดงออกที่หลากหลาย โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายของชุมชน โดยมีแผนงานและโครงการรองรับที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ระดับภาคี ตำรวจ จัดมาตรฐานคุ้มครองเด็ก - สาธารณสุข จัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและประชาสัมพันธ์เพื่อให้เข้าถึงบริการ ศึกษาธิการ จัดการเรียนการสอนเพศศึกษาและทักษะชีวิต ท้องถิ่น สร้างสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมสร้างสรรค์และสนับสนุนงบประมาณ หน่วยงานเอกชน สนับสนุนงบประมาณให้กับชุมชน มีการส่งเสริมอาชีพและรายได้โดยกรมแรงงาน วัฒนธรรมมีการจัดกิจกรรม /สถานที่ที่เอื้อต่อการส่งเสริม คุณภาพชีวิต พม.จ. พัฒนาครอบครัว มีการพัฒนาและสร้างองค์ความรู้และสื่อโดยประชาสัมพันธ์จังหวัด มีการดำเนินภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ระดับกระบวนการ สร้างระบบขับเคลื่อนการทำงาน สร้างระบบติดตามประเมินผล สร้างช่องทางในการประชาสัมพันธ์ทีหลากหลาย เช่น เคเบิ้ลทีวี วิทยุ อินเตอร์เน็ต เว็บไซด์ ฯลฯ สร้างกระบวนการให้เด็กมีส่วนร่วม มีการจัดการความรู้ นวัตกรรม และงานวิจัย มีกระบวนการประสานงาน /การสื่อสารที่ดี เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ระดับพื้นฐาน มีระบบฐานข้อมูลที่ครบถ้วน ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่าย บุคลากรมีความรู้ ทักษะด้านอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่น อย่างมืออาชีพ มีทิศทางและนโยบายที่ชัดเจน ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วน

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดฉะเชิงเทรา ภายใน ๔ ปี (๒๕๕๔-๒๕๕๗) (SRM) ภายในปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๗ วัยรุ่นมีความรู้ มีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มีบุคลิกภาพความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรม มีจิตสาธารณะต่อสังคมและมีส่วนร่วมในการสร้างภาพพจน์ที่ดีแก่จังหวัด ครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง -สร้างครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง -ส่งเสริมกิจกรรมครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง วันรุ่นและเยาวชนมีความรู้ ทักษะชีวิตและ มีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม -ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง -สร้างความตระหนักในคุณค่าของตนเอง -ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่ถูกต้อง ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ -สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังอนามัย การเจริญพันธุ์ -สนับสนุนการจัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ -ส่งเสริมการจัดการความรู้ในชุมชน ระดับประชาชน (Valuation) สธ.ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์บริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น -พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น -สนับสนุนวิชาการแก่ภาคีเครือข่าย -พัฒนาศักยภาพบุคลากรผู้ให้บริการ ศธ.จัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้านเพศศึกษา -ส่งเสริมการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างรอบด้าน -พัฒนาระบบการช่วยเหลือนักเรียน -พัฒนาระบบบริการแนะแนวอย่างมีคุณภาพ พม.จ. สนับสนุนศูนย์ประสานเครือข่ายให้เข็มแข็งและยั่งยืน -ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันครอบครัว -ขยายการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนให้ครอบคลุมทั้งระดับจังหวัดและท้องถิ่น -เร่งรัดการประชาสัมพันธ์แบบต่อเนื่อง อปท./แกนนำเครือข่ายสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง -บรรจุเข้าแผนสุขภาพของ อปท. -สนับสนุนลานกิจกรรมอย่างเพียงพอ -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร มท./วธ. สนับสนุนการดำรงชีวิตแบบวิถีไท ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม คุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน จัดระเบียบสังคม อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย (Stakeholder) ระดับภาคี มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ ส่งเสริมการจัดการความรู้ ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ส่งเสริมงานวิจัย มีระบบภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ -สร้างระบบขับเคลื่อนการทำงานโดยมีเจ้าภาพหลักและเจ้าภาพร่วมดำเนินงาน -สร้างกระบวนการให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วม -พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย -ส่งเสริมการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มีระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้มีความหลากหลาย -พัฒนาวิธีการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ -ส่งเสริมด้านประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงและเข้าถึงง่าย มีระบบติดตาม/ประเมินผล ที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาศูนย์ประสานงานระดับจังหวัด สร้างแนวทางการประเมินผลแบบมีส่วนร่วม พัฒนาระบบติดตามและประเมินผล ระดับกระบวนการ มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย -พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัย เข้าถึงง่าย -พัฒนาผู้ดูแลและผู้ใช้ -ประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุม บุคลากรมีความรู้ทักษะอย่างมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร -สร้างเครือข่ายอนามัยการเจริญพันธุ์ทุกระดับ -มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อนามัยการเจริญพันธุ์ ทุกระดับ จังหวัดมีนโยบาย แนวทางชัดเจน -สร้างเครือข่ายประสานงานระหว่างกลุ่ม สหวิชาชีพ -กำหนดนโยบายการดำเนินงานชัดเจน -พัฒนาแผนงานโครงการแบบบูรณาการ ระดับ พื้นฐาน 5 5

ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดฉะเชิงเทรา ภายในปี ๒๕๕๔ (ระยะ ๒ ปี) วันรุ่นและเยาวชนมีความรู้ ทักษะชีวิตและ มีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง ครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง สร้างครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ สร้างเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังอนามัยการเจริญพันธุ์ ประชาชน มท./วธ.สนับสนุนการดำรงชีวิต แบบวิถีไท ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม สธ.ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์บริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พม.จ.สนับสนุนศูนย์ประสานเครือข่ายให้เข็มแข็งและยั่งยืน ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันครอบครัว อปท./แกนนำเครือข่ายสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง บรรจุเข้าแผนสุขภาพของอปท. ภาคี ศธ.จัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ ด้านเพศศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างรอบด้าน มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ ส่งเสริมการจัดการความรู้ มีระบบติดตามและประเมินผล จัดตั้งศูนย์ประสานงานระดับจังหวัด มีระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้มีความหลากหลาย กระบวนการ มีระบบภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างระบบขับเคลื่อนการทำงานโดยมีเจ้าภาพหลักและเจ้าภาพร่วมดำเนินการ จังหวัดมีนโยบาย แนวทางชัดเจน สร้างเครือข่ายประสานงานระหว่างกลุ่มสหวิชาชีพ มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัย เข้าถึงง่าย พื้นฐาน บุคลากรมีความรู้ทักษะ อย่างมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร 6 6

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.วัยรุ่นและเยาวชนมี ความรู้และทักษะชีวิต มีพฤติกรรมอนามัย การเจริญพันธุ์ที่ เหมาะสม -ส่งเสริมพฤติกรรม เกี่ยวกับอนามัยการ เจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง 1.อบรมความรู้ เกี่ยวกับอนามัยการ เจริญพันธุ์ให้แก่สภา เด็กและเยาวชน 2.จัดค่ายเยาวชนให้ ความรู้เพื่อกระตุ้นให้ เยาวชนได้รับการส่ง เสรมด้านอนามัยการ เจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง 3.คัดเลือกแกนนำจิต อาสาวัยรุ่นเพื่อ รณรงค์เกี่ยวกับงาน อนามัยการเจริญ พันธุ์/ร่วมวางแผน กิจกรรมกับเครือข่าย 4.สร้างสภาเด็กและ เยาวชนให้ครอบคลุม ทุกตำบล -สภาเด็กและเยาวชน ระดับตำบลได้รับการ อบรม ร้อยละ 50 -พม.จ. -หน่วยงานในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ -เทศบาล/อบต. -สธ. -วธ. -สสส. 7

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.ครอบครัวอบอุ่นและ เข้มแข็ง -สร้างครอบครัว อบอุ่นแลเข้มแข็ง 1.ส่งเสริมกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์ใน ครอบครัว 2.สร้างเครือข่าย ครอบครัวเข้มแข็ง 3.ให้ความรู้ผู้ปกครอง ด้านการเปลี่ยนแปลง พัฒนาการตามวัย รวมทั้งปัญหาของ วัยรุ่นในปัจจุบัน 4.จัดประกวด ครอบครัวอบอุ่นเพื่อ เป็นต้นแบบในชุมชน -ศูนย์พัฒนาครอบครัว ตำบลทุกแห่งมีกิจกรรม เสริมสร้างความสัมพันธ์ ในครอบครัวอย่างน้อย 3 ครั้ง -พม.จ. -อบต./อบจ./ เทศบาล -ผู้นำชุมชน -อาสาสมัครในพื้นที่ -สธ. -ศธ. -ICT -มท. 8

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.ชุมชนมีส่วนร่วมใน การพัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ -สร้างเครือข่ายการ เฝ้าระวังอนามัย การเจริญพันธุ์ 1.จัดเวทีประชาคม เพื่อจัดทำแผน โครงการด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ 2.มีการจัดทำแผน ชุมชน 3.มีการสร้างมาตรการ เฝ้าระวังในชุมชน 4.สร้างมาตรการใน ชุมชน -ทุกตำบลมีเครือข่าย การเฝ้าระวังอนามัยการ เจริญพันธุ์ -พม.จ. -อปท. -สธ. -ผู้นำชุมชน -พัฒนาชุมชน -วธ. -มท. -ICT 9

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.สนับสนุน งบประมาณในการ ดำเนินงานอย่าง เพียงพอและต่อเนื่อง -บรรจุเข้าแผน สุขภาพของ อบต./ เทศบาล 1.จัดทำแผนชุมชน 2.จัดทำประชาคม ระดับตำบล 3.ผลักดันแผนเข้าสู่ แผนชุมชน 4.ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร 5.สนับสนุนลาน กิจกรรมอย่าง เพียงพอ 6.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ -ทุก อบต./เทศบาล.มี การสนับสนุนงบประมาณ การพัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและ เยาวชนอย่างน้อย 1 แผนงาน/โครงการ -เทศบาล/อบต. -สธ./รพ.สต. -ศธ. -ผู้นำชุมชน -พัฒนาชุมชน -พม.จ. -ตำรวจ 10

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มหาดไทย/ วัฒนธรรมสนับสนุน การดำรงชีวิตแบบวิถี ไทย -ส่งเสริมคุณธรรม และจริยธรรม 1.จัดกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรมและจริยธรรม 2.จัดระเบียบสังคม 3.บังคับใช้ พรบ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 4.ประกวดเยาวชน ต้นแบบด้านอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย -ทุกอำเภอต้องมีเยาวชน ต้นแบบด้านอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทยอย่างน้อย 1 คน -สถานศึกษา -วธ. -ตำรวจ -ปกครองจังหวัด -สำนักพระพุทธ ศาสนา -สภาวัฒนธรรม จังหวัด/อำเภอ/ ตำบล -อัยการ 11

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.ส่งเสริมการจัดตั้ง ศูนย์บริการสุขภาพที่ เป็นมิตรกับวัยรุ่น -พัฒนาระบบ บริการที่เป็นมิตร กับวัยรุ่น 1.จัดตั้งคลินิกบริการ สุขภาพที่เป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและ เยาวชน 2.จัดอบรมบุคลากร และแกนนำเยาวชนที่ เกี่ยวข้องกับสถาน บริการ 3.พัฒนาภาคี เครือข่ายในการส่งต่อ ข้อมูลข่าวสารและการ ดูแลบริการอย่าง ต่อเนื่องรวมทั้งการ ติดตาม -ทุกสถานบริการในระดับ อำเภอและจังหวัดมี บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น -สสจ.ฉะเชิงเทรา -รพท./รพช. -สถานศึกษา -อปท./เทศบาล -ศูนย์วัฒนธรรม -บ้านพักเด็ก และครอบครัว

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4.จัดกระบวนการเรียนรู้ด้านเพศศึกษา -ส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่องเพศศึกษา อย่างรอบด้าน 1.จัดการเรียนการ สอนทักษะชีวิต 2.พัฒนาระบบการ ดูแลช่วยเหลือ นักเรียนให้มีคุณภาพ 3.พัฒนาระบบการ แนะแนวให้มีคุณภาพ 4.จัดกระบวนการเรียน การสอนเรื่อง เพศศึกษาอย่างรอบ ด้าน 5.สร้างเครือข่ายครู สอนเพศศึกษา -อำเภอมีโรงเรียนที่มีการ สอนเพศศึกษาอย่างรอบ ด้านอำเภอละหนึ่งแห่ง -สพป.1,2 -สพม.เขต6 -อาชีวศึกษา -โรงเรียนเอกชน -สถาบันราชภัฏ -กศน. -สธ.

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 5.พม.จ.สนับสนุนศูนย์ประสานเครือข่ายให้เข้มแข็งและยั่งยืน -ส่งเสริมและ สนับสนุนสถาบัน ครอบครัว 1.จัดตั้งสภาเด็กและ เยาวชนให้ครอบคลุม ทุกตำบล 2.พัฒนาศักยภาพ ครอบครัวอบอุ่นให้มี ความเข้มแข็ง 3.จัดพื้นที่และ กิจกรรมสร้างสรรค์ สำหรับวัยรุ่น 4.ติดตามการทำงาน ของเครือข่ายทุก 6 เดือน -มีศูนย์ประสานเครือข่าย อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน อำเภอละ 1 แห่ง -อปท./เทศบาล -พม.จ. -ปชส. -วิทยุชุมชน

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.มีระบบภาคี เครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพ -สร้างระบบ ขับเคลื่อนการ ทำงานโดยมี เจ้าภาพหลักและ เจ้าภาพร่วม ดำเนินงาน 1.แต่งตั้ง คณะกรรมการ/ คณะทำงานอนามัย การเจริญพันธุ์ทุก ระดับ(จังหวัด/ อำเภอ/ตำบล) 2.สัมมนาคณะทำงาน พัฒนางานอนามัย การเจริญพันธุ์ สร้าง ความรู้ความเข้าใจ 3.จัดทำแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ อนามัยการเจริญพันธุ์ ในพื้นที่ร่วมกัน ระหว่างเครือข่าย -มีแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์พัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่นทุกระดับ จังหวัด/อำเภอ/ตำบล/ หมู่บ้าน -หน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข -เทศบาล/อบต. -พัฒนาชุมชน -อบจ. -ศธ. -พม.จ. 15

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มีระบบติดตาม/ ประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ -พัฒนาระบบการ ติดตามและ ประเมินผล 1.จัดตั้งศูนย์ ประสานงานระดับ จังหวัด 2.แต่งตั้ง คณะกรรมการ 3.จัดทำแผนและแนว ทางการติดตาม ประเมินผล 4.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ -ทุกอำเภอมีระบบผลการ ติดตามประเมินผล -สสจ.ฉะเชิงเทรา -พม.จ. -ศธ. -สธ. -อบจ./ เทศบาล/อบต. -สพป.1,2 -สพม.เขต6 -กศน. 16

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.มีระบบการสื่อสารที่ มีประสิทธิภาพ -พัฒนาช่อง ทางการสื่อสารให้ หลากหลาย 1.สร้างและพัฒนา ช่องทางสื่อสารให้ หลากหลายและ เข้าถึงง่าย 2.พัฒนาวิธีการ สื่อสารให้มี ประสิทธิภาพ 3.สนับสนุน งบประมาณและ ทรัพยากรในการ สื่อสารประชาสัมพันธ์ -มีป้ายประชามสัมพันธ์ ขนาดใหญ่อำเภอละ 1 ป้ายและมีช่องทาง สื่อสารผ่านสื่อในชุมชน อย่างน้อย 3 ช่องทาง -ปชส. -อบจ. -เทศบาล -อบต. -สธ. -สสจ. ฉะเชิงเทรา -พม.จ. -สพป.1,2 -สพม.เขต6 -กศน. 17

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4.มีนวัตกรรมและองค์ ความรู้ -ส่งเสริมการจัดการ ความรู้ 1.จัดประชุมภาคี เครือข่ายทบทวนองค์ ความรู้ 2.จัดเวทีสาธารณะ แสดงความคิดเห็น 3. ประชุมคณะทำงาน /ผู้เชียวชาญถอด บทเรียน 4. กำหนดแนวทาง การทำงาน 5. ศึกษาดูงาน -มีนวัตกรรมและ ผลงานวิจัยด้านอนามัย การเจริญพันธุ์อย่างน้อย อำเภอละ 1 เรื่อง -พม.จ. -ศธ. -สธ. -อบจ./เทศบาล -อบต. -ตำรวจ -อัยการ -กศน. -สพป.1,2 -สพม.เขต6 -แรงงาน -วัฒนธรรม 18

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.บุคลากรมีความรู้ ทักษะอย่าง มืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพ บุคลากร 1.มีการจัดตั้งทีม สหวิชาชีพ 2.มีแผนพัฒนาทีม 3.อบรม/ประชุม/ สัมมนาศึกษาดูงาน 4.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่าง หน่วยงาน 5.ประเมินผลการ ปฏิบัติงาน(สมรรถนะ) ของบุคลากรทุก 6 เดือน 6.มีการสร้างแรงจูงใจ -ทุกอำเภอมีทีม สหวิชาชีพอย่างน้อย 1 ทีม -สสจ.ฉะเชิงเทรา -พม.จ. -เทศบาล/อบต. -คณะอนุกรรม การพัฒนา อนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด -อบจ. 19

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.จังหวัดมีนโยบาย แนวทางชัดเจน -เร่งรัดในการมี นโยบายระดับ จังหวัด 1.กำหนดเป็นวาระ จังหวัด 2.สร้างภาคีเครือข่าย 3. จัดประชุมเพื่อ กำหนดวัตถุประสงค์ วางแผนการ ดำเนินงานและ ติดตามประเมินผล 4.มีการถ่ายระดับการ ดำเนินงานในพื้นที่ -มีแนวทางในการ ดำเนินงานที่ชัดเจนทุก ระดับ -คณะอนุกรรม การพัฒนาอนามัย การเจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด -เทศบาล/อบต. -สสจ. ฉะเชิงเทรา -อบจ. -ทุกหน่วยงาน ของจังหวัด -ท้องถิ่นจังหวัด -ปชส. -สำนักงาน จังหวัด -พม.จ. -สพป.1,2 -สพม.เขต6 20

ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย -พัฒนาระบบ ฐานข้อมูลให้ ทันสมัย เข้าถึงง่าย 1.พัฒนาระบบ ฐานข้อมูลอนามัย เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น 1.1สำรวจข้อมูลที่ ต้องการ 1.2รวบรวม,จัดเก็บ อย่างมีระบบ(IT) 2.จัดอบรมผู้ดูแลและ ผู้ใช้ข้อมูล 3.ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล -ทุกชุมชนสามารถ เข้าถึงและใช้ข้อมูลได้ -สำนักงานจังหวัด -เทศบาล/อบต. -สสจ. ฉะเชิงเทรา -ปชส. -ศธ. -พม.จ. -มท. -วธ. 21