แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยนอกและผู้รับบริการอื่น ๆ เฉลี่ย / เดือน หน่วย : ครั้ง ( เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ )
Advertisements

สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัดที่ 7 สารพิษตกค้างในอาหาร จังหวัดยโสธร ปี
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
กลวิธี 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัตนาสุขภาพจิตครอบครัว
สวัสดีคะพี่น้องชาวสาธารณสุขเขต5
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
25/07/2006.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
โครงการ พัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อลดความแออัด โรงพยาบาลพัทลุง
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
สุธาทิพย์ รุ่งเรืองอนันต์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
โครงการ ส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด” โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด” โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร

สถานการณ์การให้บริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์

2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 ปีงบประมาณ

เปรียบเทียบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก เฉลี่ยต่อวัน จำนวนครั้ง) ปีงบประมาณ

10 อันดับโรค ผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก ปีงบประมาณ 2548 10 อันดับโรค ผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก ปีงบประมาณ 2548 ความดันโลหิตสูง การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลัน เบาหวาน ไข้ ปวดท้อง อาการท้องร่วง กระเพาะลำไส้อักเสบจากการติดเชื้อ คออักเสบเฉียบพลัน ไขมันในเลือดสูง ปวดกล้ามเนื้อ เพลีย

วัตถุประสงค์ ระยะสั้น ระยะยาว 1.ลดปริมาณผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก 1. อัตราเพิ่มของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2550 ลดลง ร้อยละ 10 (อัตราเพิ่มปี 2548 = ร้อยละ 13.80) 2. ลดระยะเวลารอคอยการรับบริการแผนกผู้ป่วยนอก ระยะยาว 1.ลดปริมาณผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก 2.เพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการสุขภาพ 3.ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับความจำเป็นของสุขภาพ

กลวิธีในการดำเนินงาน กำหนดสถานบริการที่จะพัฒนาศักยภาพเพื่อรองรับการดำเนินโครงการ 1.1 โรงพยาบาลชุมชน ( จำนวน 1 แห่ง ) : โรงพยาบาลท่าแซะ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร 1.2 พัฒนาสถานีอนามัยเป็นศูนย์แพทย์ชุมชน ( จำนวน 1 แห่ง ) : สถานีอนามัยปากด่าน อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร 1.3 พัฒนาศักยภาพศูนย์สุขภาพชุมชน ( 5 แห่ง ) : สถานีอนามัยบางลึก อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : สถานีอนามัยทุ่งคา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : สถานีอนามัยวังใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ : สถานีอนามัยรับร่อ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

กลวิธีในการดำเนินงาน 2. โครงการพัฒนาศักยภาพศูนย์สุขภาพชุมชน เพื่อรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 4 แห่ง : สถานีอนามัยบ้านนา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : สถานีอนามัยทุ่งคา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : สถานีอนามัยนาชะอัง อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : สถานีอนามัยท่ายาง อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร

กทม. หาดทรายรี รพ.ปากน้ำชุมพร อำเภอท่าแซะ อำเภอเมือง ท่ายาง บางหมาก นาทุ่ง นาชะอัง ดอนรัก ขุนกระทิง รพ.ชุมพร บางลึก รพ.ท่าแซะ ตากแดด หาดพันไกร PCU รพ. ทุ่งคา กทม. วังไผ่ สี่แยกปฐมพร นากระตาม รพ.ค่าย วิสัยเหนือ หงษ์เจริญ บ้านนา ปากด่าน วังใหม่ เขายาว ถ้ำสิงห์ วัด รับร่อ ท่าข้าม ท่าไม้ลาย วังลุ่ม

กลวิธีในการดำเนินงาน 3. พัฒนาระบบบริการภายในโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ 4. ทบทวน Referal System ของจังหวัดชุมพร

แผนพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการเพื่อรองรับ โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด” ปีงบประมาณ 2549 1. ด้านกายภาพ ปรับปรุงด้านกายภาพของโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์/โรงพยาบาลชุมชน 1 แห่ง ศูนย์สุขภาพชุมชน 8 แห่ง 2. ด้านจัดหาอุปกรณ์/เครื่องมือ จัดหาอุปกรณ์/เครื่องมือของโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์/โรงพยาบาลชุมชน 1 แห่ง ศูนย์สุขภาพชุมชน 8 แห่ง 3.ด้านการพัฒนาบุคลากร พัฒนาพยาบาลวิชาชีพ เป็นพยาบาลเวชปฏิบัติ เพื่อปฏิบัติงานที่ศูนย์สุขภาพชุมชน เป้าหมาย

งบประมาณ ** จัดทำแผนให้สอดคล้องกับการได้รับจัดสรร จากกระทรวงสาธารณสุข **

ตัวชี้วัดในการประเมิน ระยะสั้น ( ภายในปีงบประมาณ 2550 ) อัตราเพิ่มของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอกของรพ.ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ลดลง จำนวนผู้รับบริการที่PCU / ศูนย์บริการสุขภาพชุมชนเป้าหมาย 3. ระยะเวลาการรอคอยของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลชุมพร เขตรอุดมศักดิ์ ระยะยาว จำนวนผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอกของรพ.ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ลดลง ความพึงพอใจของผู้รับบริการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระยะสั้น ( ภายในปีงบประมาณ 2550 ) ระยะสั้น ( ภายในปีงบประมาณ 2550 ) 1. อัตราเพิ่มของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก ลดลงร้อยละ 10 2. จำนวนผู้รับบริการที่PCU / ศูนย์บริการสุขภาพชุมชนเป้าหมาย เพิ่มขึ้น 3. ระยะเวลาการรอคอยของผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลชุมพร เขตรอุดมศักดิ์ ลดลง ระยะยาว จำนวนผู้รับบริการแผนกผู้ป่วยนอก ลดลง ความพึงพอใจของผู้รับบริการ เพิ่มขึ้น

สวัสดี