พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติมาตรการของฝ่ายบริหารในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
Advertisements

ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
ค่าเบี้ยประชุม สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สำนักงานตรวจสอบภายใน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
บทที่ 2 ขอบเขตการใช้กฎหมาย
โดย ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษา
ปัญหาเกี่ยวกับการสอบข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
นำเสนอโดย คุณสุนทรี น้อยยิ้ม เจ้าพนักงาน ธุรการชำนาญงาน นายภุชงค์ ธงสอาด นักจัดการ งานทั่วไปชำนาญการ ฝ่ายอำนวยการ “ เรื่อง แนวทางปฏิบัติของหน่วยงาน ของรัฐตามหลักเกณฑ์การเปิดเผย.
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
การตรวจสอบของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
สถาบันการบินพลเรือน (สบพ.)
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
“ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวินัย” โดย พ. ต. ท
ของข้าราชการตำรวจ บก.อก.บช.ศ.
มีคำสั่งตั้งคณะกรรมการสืบสวนหรือให้สืบสวน
การทุจริตทางทะเบียนและบัตร
ณ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ผู้อำนวยการสำนักปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ 5
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
การบริหารเวชภัณฑ์.
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
ร่างพระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ....
กฎ ระเบียบ ว่าด้วยการจัดซื้อเวชภัณฑ์
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
ฝ่ายบริหารทั่วไป.
ฝ่ายบริหารทั่วไป หน้าที่ความรับผิดชอบ รับผิดชอบการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ได้แก่ งานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงิน บัญชี และพัสดุ งานยานพาหนะ งานจัดทำและบริหารงบประมาณ.
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
ซึ่งดำรงตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนดเป็นระดับ 6
การบริหารงานบุคคล สุรเกียรติ ฐิตะฐาน บทเรียนจากองค์กรวินิจฉัย
3.การจัดทำงบประมาณ.
การป้องกันและปราบปรามการ ผู้อำนวยการสำนักปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ 4
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
หลักเกณฑ์การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับลูกจ้างประจำ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
 หมวด 1 การสรรหา การบรรจุ และ การแต่งตั้ง  หมวด 2 การเรียกประกัน  หมวด 3 การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือ ค่าจ้างของผู้ปฏิบัติงาน  หมวด 4 การพ้นจากตำแหน่งและ.
ระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542

ทุจริตต่อหน้าที่ - ในตำแหน่งหน้าที่ 1. ปฏิบัติ/ละเว้นการปฏิบัติอย่างใด - ในตำแหน่งหน้าที่ - โดยมีพฤติการณ์ที่อาจทำให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีตำแหน่ง หน้าที่ ทั้งที่ไม่มีเลย หรือ 2. ใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ 3. เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบสำหรับตน/ผู้อื่น

การตรวจสอบ จนท.ของรัฐ . - ยังดำรงตำแหน่งอยู่ 1. กล่าวหา จนท.ของรัฐ เป็นหนังสือ - ยังดำรงตำแหน่งอยู่ - พ้นตำแหน่งแล้ว แต่ยังไม่เกิน 2 ปี 2. ทำการไต่สวน 3. ไต่สวนเสร็จแล้ว และมีมติว่า ฃ้อกล่าวหานั้น (1) ไม่มีมูล - ข้อกล่าวหาตกไป (2) มีมูลผิดวินัย ส่งเรื่องให้ ผบ./ผู้มีอำนาจ พิจารณาโทษทางวินัย ตามฐานความผิดที่มีมติ โดย

- ไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยอีก - ให้พิจารณาลงโทษ ภายใน 30 วัน นับแต่ ได้รับเรื่อง และให้ส่งสำเนาคำสั่ง ไปให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายใน 15 วัน นับแต่วันออกคำสั่ง ถ้า ผบ.ละเลย ให้ถือว่าผิดวินัย/ผิดกฎหมาย ว่าด้วยบริหารงานบุคคล - ผู้ถูกลงโทษ มีสิทธิอุทธรณ์ดุลพินิจในการสั่งลงโทษได้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีคำสั่งลงโทษ - กรณี ผบ.ไม่ลงโทษ/ลงโทษไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม ให้เสนอความเห็นต่อนายกรัฐมนตรี พิจารณาสั่งการ

(3) มีความผิดทางอาญา - ส่งเรื่องทั้งหมด ไปให้ อัยการสูงสุด ดำเนินคดีอาญาในศาล - ให้ถือว่ารายงานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นสำนวนการ สอบสวน และให้ศาลประทับฟ้องโดยไม่ต้องไต่สวนมูลฟ้อง - เมื่อจะฟ้องคดีอาญา ให้มีหนังสือแจ้งผู้ถูกกล่าวหาไป รายงานตัว ต่อ ป.ป.ช. ถ้าหากไม่ไป ก็ให้แจ้งต่อตำรวจ ให้จัดการนำตัวไปส่งต่อ อัยการสูงสุด/คณะกรรมการ ป.ป.ช. - การควบคุมตัว/ การปล่อยตัวชั่วคราว ให้อัยการสูงสุด หรือ คณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นผู้พิจารณา

พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.2542

ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลัง โทษปรับทางปกครอง ชั้นที่ 1 ปรับไม่เกินเงินเดือน 1 เดือน ชั้นที่ 2 ปรับเท่ากับเงินเดือน 2 - 4 เดือน ชั้นที่ 3 ปรับเท่ากับเงินเดือน 5 - 8 เดือน ชั้นที่ 4 ปรับเท่ากับเงินเดือน 9 - 12 เดือน

ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลัง 2. อายุความ/การบังคับใช้ - อายุความ 5 ปี นับแต่ทำความผิด - บังคับใช้ตั้งแต่ 20 ตุลาคม 2544 3. คำวินิจฉัย โทษปรับทางปกครอง ของคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน เป็นที่สุด (ม.23 วรรคสอง)

ฐานความผิดและโทษเกี่ยวกับการเงิน 1. การเบิก/จ่ายเงิน - ปฎิบัติ/ละเว้นปฏิบัติ ตามระเบียบ กฎหมาย - ไม่มีหลักฐาน/ทำหลักฐานเท็จ เบิก-จ่าย 1.1 ราชการเสียหาย ปรับ ชั้น 3 1.2 ผู้สั่งจ่าย/ผบ. ผิดร่วมด้วย ปรับชั้น 4 2. การเก็บเงิน รับเงิน ไม่ออกใบเสร็จ/ไม่นำฝาก ปรับชั้น 1

- อนุมัติหรือจ่ายเงินยืม ไม่ถูกต้องตามระเบียบ 3. การยืมเงิน - อนุมัติหรือจ่ายเงินยืม ไม่ถูกต้องตามระเบียบ หรือกฎหมาย แล้วเกิดความเสียหาย ปรับชั้น 3 - ไม่เร่งรัด ติดตาม ทวงเงินยืม แล้วเกิดความ เสียหาย ปรับชั้น 2

ความผิดเกี่ยวกับการพัสดุ 1. จัดซื้อจัดจ้าง โดยปฏิบัติ/ละเว้น ปฏิบัติหน้าที่ ตาม ก.ม./ระเบียบ แบ่งซื้อแบ่งจ้าง ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 4 2. ควบคุมงาน/ตรวจการจ้าง โดยปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติ ให้ถูกต้องตาม ก.ม.-ระเบียบ ปรับชั้น 3 ถ้ากระทำโดยมิชอบ ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 4

3. ตรวจรับพัสดุ โดยปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติ ให้ถูกต้อง ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 4 4. เบิกจ่ายพัสดุ/ทำบัญชีหรือทะเบียน โดยปฏิบัติ/ ไม่ปฏิบัติ ให้ถูกต้องตาม ก.ม.-ระเบียบ ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 2

5. ตรวจสอบพัสดุประจำปี โดยปฏิบัติ/ไม่ปฏิบัติ ให้ถูกต้อง ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 2 ถ้า ผบ. ไม่แต่งตั้ง จนท.ตรวจสอบประจำปี ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 3 6. มีหน้าที่เกี่ยวกับยานพาหนะ โดยปฏิบัติ/ ไม่ปฏิบัติ ให้ถูกต้องตาม ก.ม.-ระเบียบ ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 2

7. ถ้า จนท.ผู้กระทำผิด หรือ มีส่วนร่วมในการทำ ความผิด นั้น เป็น ผบ.ต้องรับโทษสูงกว่า 1 ชั้น เว้นแต่เป็นโทษที่กำหนดไว้เป็น ชั้น 4 8. ใช้จ่ายเงินงบประมาณ โดยผิดวัตถุประสงค์/ โดยไม่มีอำนาจ ทำให้เสียหายแก่รัฐ ปรับชั้น 3