ศ. พิเศษ ภญ. ดร. สุมนา ขมวิลัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
นางสาว จริยา อุทุมพร รหัสนักศึกษา
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
กระบวนการจัดการความรู้
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
มติที่เสนอและได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ ใน การประชุมครั้งที่ 1/2552 วันที่ 13 สิงหาคม 2552.
“การขยายโรงงานผลิตวัคซีนวัณโรค สู่มาตรฐานสากล”
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย / บริหาร แผนแม่บท แผนชาติ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ เป้าหมาย PSA KPI
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
กรณีความเสี่ยง DMSc.
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
เทรนด์ “สุขภาพโลก” ในปี 2555
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์ ศลช.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
นโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก”
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศ. พิเศษ ภญ. ดร. สุมนา ขมวิลัย โครงการวิจัยพัฒนาและขยายกำลังการผลิต วัคซีนป้องกันวัณโรคเพื่อขอรับรองมาตรฐาน WHO Prequalification ศ. พิเศษ ภญ. ดร. สุมนา ขมวิลัย

วัคซีนป้องกันวัณโรคถูกบรรจุไว้ในแผนยุทธศาสตร์วัคซีนแห่งชาติให้มีการพัฒนาทั้งด้าน การผลิตและการวิจัยเพื่อให้ได้วัคซีนวัณโรคใหม่ที่มีประสิทธิภาพในทางป้องกันโรคดีกว่าวัคซีน BCG ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เพราะแม้ว่าวัคซีน BCG ปัจจุบันจะมีความสำคัญและจำเป็นต่อเด็กแรกเกิดในประเทศไทย ใช้ได้ดีในเด็กแต่ไม่สามารถป้องกันวัณโรคในผู้ใหญ่ได้ดีเท่าที่ควรและแม้จะมีวัคซีนป้องกันวัณโรคชนิดใหม่เกิดขึ้นในอนาคต วัคซีน BCG ก็ยังเป็นวัคซีนพื้นฐานในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (EPI) ในประเทศกำลังพัฒนาอีกเป็นเวลานาน อีกทั้งเชื้อ BCG ยังสามารถนำไปพัฒนาต่อยอดด้านเทคโนโลยีชีวภาพในการพัฒนาวัคซีนป้องกันวัณโรค ชนิดใหม่ ได้

ปัจจุบันมีผู้ผลิตวัคซีน BCG ในต่างประเทศเหลืออยู่น้อยราย รัฐบาลจึงได้ให้การสนับสนุนการลงทุนสร้างโรงงานผลิตวัคซีน BCG ของสถานเสาวภา ที่มีอยู่แห่งเดียวในประเทศ ให้ขยายกำลังผลิตมากขึ้น เพื่อขอรับรองมาตรฐาน WHO Prequalification พร้อมทั้งทำการวิจัยพัฒนาวัคซีนป้องกันวํณโรคชนิดใหม่ที่สามารถป้องกันวัณโรคในผู้ใหญ่ได้ด้วย เพื่อให้ประเทศสามารถพึ่งตนเองได้ เป็นการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประเทศไทย อีกทั้งสามารถพัฒนาบุคลากรในประเทศให้มีศักยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในด้านการผลิตวัคซีน

สำนักงานคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณะสุข และสภากาชาดไทยได้เห็นชอบในหลักการให้ สถานเสาวภาจัดทำโครงการจัดตั้งโรงงาน ผลิตวัคซีน บีซีจีแห่งใหม่ ในพื้นที่ของสภากาชาดไทย จังหวัดชลบุรีเพื่อขยายกำลังการผลิตและปรับปรุงโรงงานให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน WHO Prequalification จากองค์การอนามัยโลก เพื่อที่จะสามารถส่งวัคซีนบีซีจีไปจำหน่าย ให้ UNICEF พร้อมทั้งวิจัยพัฒนาวัคซีนวัณโรคชนิดใหม่ ซึ่งสถานเสาวภาได้พยายามหาผู้วิจัยร่วมกับหน่วยงานวิจัยอี่นทั้ง BIOTECH มหาวิทยาลัยต่างๆที่มีศักยภาพด้านนี้

โรงงานที่จะสร้างขึ้นใหม่ที่จังหวัดชลบุรี ได้วางโครงการส่วนพื้นที่ที่ใช้ผลีตวัคซีน BCG ปัจจุบัน และจัดเตรียมห้องไว้สำหรับงานวิจัยพัฒนาและสำหรับผลิตวัคซีนป้องกันวัณโรคชนิดใหม่ในอนาคตดัวย อย่างไรก็ตามหากรัฐบาลไม่สามารถจัดหาเงินลงทุนให้สภากาชาดไทยได้และนโยบายของรัฐบาลในการสนับสนุนผู้ผลิตวัคซีนในประเทศยังไม่แน่นอนและไม่เอื้อต่อการลงทุนของคนไทย โครงการนี้คงยังไม่สามารถเกิดได้ในขณะนี้ และประเทศไทยอาจล้าหลังกว่าประเทศเพื่อนบ้านที่รัฐบวลให้การสนับสนุนเต็มที่

กิจกรรมหลัก -จัดทำโครงการจัดสร้างโรงงานผลิตวัคซีนบีซีจีและ ห้องปฏิบัติการควบคุมและประกันคุณภาพและอาคารสัตว์ทดลอง -จัดหาผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศวางระบบการผลิตตาม มาตรฐานสากล WHO Prequalification -ออกแบบโรงงานผลิตวัคซีนบีซีจีและ ห้องปฏิบัติการควบคุมและประกันคุณภาพและอาคารสัตว์ทดลองพร้อมหาผู้ควบคุมงานก่อสร้าง

- จัดทำข้อกำหนดมาตรฐานเครื่องมือ เครื่องจักร พร้อม ระบบ ต่างๆและดำเนินการจัดซื้อ - ดำเนินการก่อสร้างโรงงานผลิตวัคซีนบีซีจีและ ห้องปฏิบัติการควบคุมและประกันคุณภาพและอาคารสัตว์ทดลอง - ติดตั้งเครื่องมือเครื่องจักร และระบบต่างๆ - จัดหาและพัฒนาบุคลากรเข้าปฏิบัติงาน - ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของระบบต่างๆ - ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของห้องสะอาด เครื่องจักร - ผลิต Validation batches เพื่อขอรับรองมาตรฐาน GMP จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา - ขอรับการตรวจประเมิน WHO Prequalification จากองค์การอนามัยโลก

Manufacturing Process BCG culture (S2 culture) Harvesting Wash Semi-dry mass Grinding Add solution Conc. BCG Suspension Add solution Final Bulk Filling 0.5 ml of vials (half-closed stopper) Freeze-drying Capping Inspection Freeze-dried BCG Vaccine Labelling / Packaging Final Product Queen Saovabha Memorial Institute

Mahidolvongsanusorn Building Queen Saovabha Memorial Institute 9

Queen Saovabha Memorial Institute DISSOLVING & MIXING Queen Saovabha Memorial Institute

Queen Saovabha Memorial Institute GRINDING & SUSPENING Queen Saovabha Memorial Institute

Queen Saovabha Memorial Institute FILLING Queen Saovabha Memorial Institute

Queen Saovabha Memorial Institute FREEZE DRYING Queen Saovabha Memorial Institute

The designs of new BCG plant and new TB plant should meet national regulatory requirements for world class biopharmaceutical facilities including US (FDA), EU (EMA), PIC/S and other current Good Manufacturing Practice (cGMP) standards.

- ผลิตวัคซีนป้องป้องกันวัณโรคบีซีจี 3,000,000 ขวด งบประมาณ - เงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาล เป็นเงิน 892 ล้านบาท - เงินทุนในส่วนของสภากาชาดไทย เป็นเงิน 200 ล้านบาท - งบประมาณรวมทั้งสิ้น 1,092 ล้านบาท เป้าหมาย - ผลิตวัคซีนป้องป้องกันวัณโรคบีซีจี 3,000,000 ขวด - ผลิตน้ำยาสำหรับทำละลาย 3,000,000 ขวด ข

Thank you BCG VACCINE