แนวทางการการดำเนินงานปี 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

Research Mapping.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การสื่อสารแผนที่ยุทธศาสตร์ ระดับองค์กร ระดับภาค ระดับพื้นที่
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การควบคุมการ บริโภคยาสูบ สำนักโรคไม่ติดต่อ. นโยบายการควบคุมการบริโภค ยาสูบของ WHO  mpower M onitor tobacco use and prevention policies P rotect people.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ข้อเสนอ เพื่อการบริหารงานสาธารณสุข สู่ความเป็นเลิศด้านสุขภาพ กลุ่มนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด 27 ตุลาคม 2551.
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้าง สมรรถนะองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูง อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจราชการ ประสานงาน เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ 6. บูรณาการความร่วมมือด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการการดำเนินงานปี 2551 แผนงานพัฒนากระบวนการผลักดันมาตรการทางกฎหมาย โดย นายแพทย์พินันท์ แดงหาญ

กลยุทธ์กรมฯ ที่ 4 : การพัฒนาระบบมาตรการสื่อสารความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพรวมทั้งการจัดการสิ่งแวดล้อมและการประกอบอาชีพ เป้าหมายการให้บริการ : ประชาชนเข้าถึงความรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และมีมาตรการทางสังคมที่เหมาะสม รวมทั้งจัดการสิ่งแวดล้อมและการประกอบอาชีพได้ตามมาตรฐาน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : จำนวนมาตรการและ/หรือกฎหมายที่เสนอ/พัฒนา 3 เรื่อง ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : ร้อยละ 50 ของสถานประกอบการ/แหล่งบริการที่ได้รับการตรวจสอบได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัดเชิงเวลา : ร้อยละ 80 ของโครงการดำเนินการสำเร็จตามแผนที่กำหนด

ภายใต้กลยุทธ์กรมฯ ที่ 4 ประกอบด้วย 2 แผนงาน ได้แก่ ภายใต้กลยุทธ์กรมฯ ที่ 4 ประกอบด้วย 2 แผนงาน ได้แก่ 1. แผนงานพัฒนาการสื่อสารสาธารณะ (97.2884 ล้านบาท) แผนงานพัฒนากระบวนการผลักดันมาตรการทางกฎหมาย (76.5940 ล้านบาท)

แผนงานพัฒนากระบวนการผลักดันมาตรการทางกฎหมาย Sub Product ที่ 1 : กฎหมายและมาตรการทางกฎหมายที่ได้รับการพัฒนาและปรับปรุง กลุ่มเป้าหมาย : ประชาชนทั่วไป เป้าหมายผลผลิต : 1. กฎหมาย และมาตรการทางกฎหมายที่ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย 2. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมาย เพื่อการป้องกันควบคุมโรค 3. ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง ในการปฏิบัติตามกฎหมาย

แผนปฏิบัติงาน : การพัฒนาและผลักดันมาตรการทางกฎหมาย เพื่อการป้องกันควบคุมโรคฯ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้ได้กฎหมาย และมาตรการทางกฎหมายที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ มีเจตคติที่ดีต่อกฎหมายเพื่อการป้องกันควบคุมโรค และสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1. จำนวนมาตรการทางกฎหมายที่ได้รับการเสนอ/พัฒนา 2. ร้อยละของประชาชนที่ได้รับรู้ประเด็นการสื่อสารเพื่อการผลักดันมาตรการทางกฎหมาย

กลวิธี : ทบทวน จัดทำฐานข้อมูลกฎหมายทั้งในประเทศ และต่างประเทศ การปรับปรุงกฎหมายที่มีอยู่ให้สอดคล้องกับกฎหมายแม่บท เช่น IHR , FCTC เป็นต้น การศึกษากฎหมายอื่นๆ เพื่อเตรียมการออกมาตรการควบคุมเฉพาะประเด็น ผลักดันการออกกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง หรือการแก้ไขกฎหมาย กฎกระทรวง

กลวิธี (ต่อ) : 5. กำหนดประเด็นการสื่อสารมาตรการทางกฎหมาย (Key Massages) แก่ผู้เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. สื่อสารและถ่ายทอดประเด็นมาตรการทางกฎหมายแก่ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประชาชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และพนักงานเจ้าหน้าที่ ผลที่คาดว่าจะได้รับ : มีการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ และสามารถสื่อสารกับประชาชนให้เข้าใจและปฏิบัติตามได้ง่าย

Sub Product ที่ 2 : การบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ กลุ่มเป้าหมาย : ประชาชนทั่วไป เป้าหมายผลผลิต : มีกระบวนการบังคับใช้กฎหมาย หรือมาตรการที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน แผนปฏิบัติงาน : การบังคับใช้กฎหมายหรือมาตรการที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพตามที่กฎหมายกำหนด

ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละสถานประกอบการ/แหล่งบริการที่ได้รับการตรวจสอบได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. ร้อยละของสถานที่สาธารณะเป้าหมายจัดเป็นเขตปลอดบุหรี่ที่ดำเนินการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 3. จำนวนของสคร. ที่มีการจัดตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียน และบังคับใช้กฎหมายควบคุมบุหรี่และสุรา 4. ร้อยละของจังหวัดเป้าหมายที่มีกระบวนการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันควบคุมโรคตามเกณฑ์มาตรฐาน

กลวิธี : การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานการคุ้มครองสุขภาพของประชาชนตาม กฎหมาย 2. การจัดตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียน และบังคับใช้กฎหมายควบคุมบุหรี่และสุราทุกสคร. 3. การส่งเสริมสนับสนุนให้จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีกระบวนการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันควบคุมโรคตามเกณฑ์มาตรฐาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพตามที่กฎหมายกำหนดอย่างเท่าเทียมกัน

ขอบคุณ