หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข และตัวชี้วัด ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
ข้อเสนอการปฏิบัติราชการ สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ
ระยะเวลาการประเมิน ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ. ศ. ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ. ศ. ๒๕๕๔.
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การตรวจประเมินเชิงประจักษ์ ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
สมรรถนะและการประเมินสมรรถนะ สำหรับการบริหารผลการปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดที่ ๖ ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละความสำเร็จของการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ น้ำหนัก ร้อยละ ๕ มิติภายใน.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
กองแผนงานละวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
เอกสารประกอบการชี้แจง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต)
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดี และธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
วันศุกร์ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๘)
ทะเบียนราษฎร.
ตัวชี้วัดตามรับรองปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
Pass:
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
บทบาทหน้าที่ครูแกนนำ
ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเลื่อนขั้นคาจางลูกจางประจําของ
เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
จำนวนของครัวเรือนยากจนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการให้ถือปฏิบัติตามคู่มือการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และให้ข้าราชการได้รับค่าตอบแทนพิเศษในสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

๒. คณะกรรมการได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ณ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๖ มีข้อเสนอแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการโดยใช้หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการของข้าราชการครั้งที่ ๒ ประจำปี ๒๕๕๖

๒.๑ องค์ประกอบการประเมินและสัดส่วนคะแนนของ แต่ละองค์ประกอบ - การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการในจังหวัดสงขลาให้ประเมินจาก ๒ องค์ประกอบได้แก่ผลสัมฤทธิ์ของงานและจากพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะโดยมีสัดส่วนคะแนนร้อยละ ๗๕ และ ๒๕ ตามลำดับ - ในกรณีที่เป็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้ที่อยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการสัดส่วนคะแนน ร้อยละ ๕๐:๕๐

๒.๒ วิธีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน และพฤติกรรมการปฏิบัติราชการให้ดำเนินการดังนี้ - การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ให้ประเมินจากปริมาณผลงาน และคุณภาพผลงาน ความรวดเร็ว หรือตรงตามเวลาที่กำหนด หรือความประหยัด หรือความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร โดยกำหนดตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของงานรายบุคคล จำนวน ๖ ตัวชี้วัด

- การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะให้ประเมินจากสมรรถนะหลักที่ ก.พ.กำหนดได้แก่ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม และการทำงานเป็นทีม

๒.๓ ระดับผลการประเมิน การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการ ในแต่ละรอบการประเมิน ให้จัดกลุ่มคะแนนผลการประเมิน เป็น ๕ ระดับ คือ ๑. ระดับดีเด่น ๙๐ - ๑๐๐คะแนน (โควตา๑๕%) ๒. ระดับดีมาก ๘๐ - ๘๙.๙๙ คะแนน ๓. ระดับดี ๗๐ - ๗๙.๙๙ คะแนน ๔. ระดับพอใช้ ๖๐ - ๖๙.๙๙ คะแนน ๕. ต้องปรับปรุง ต่ำกว่า ๖๐

๔. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ การประเมินฯ ของข้าราชการให้ใช้แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะ และแบบสรุปการประเมินฯ โดยกำหนดระยะเวลาการประเมินถึง ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๖โดยกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายรายบุคคล ในรอบที่ ๒ (ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๖ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๖) ให้แต่ละหน่วยงานในสังกัด จัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล คนละ ๖ ตัวชี้วัด โดยพิจารณาดังนี้

๑. ตัวชี้วัดกลุ่มงาน/ฝ่าย ๑ ตัว น้ำหนัก ๓๐% ๒ ๑. ตัวชี้วัดกลุ่มงาน/ฝ่าย ๑ ตัว น้ำหนัก ๓๐% ๒. ตัวชี้วัดรายบุคคล ๔ ตัว น้ำหนัก ๒๐% ๑๐% ๑๐% ๑๐% ๓. ส่วนของผู้บังคับบัญชาประเมิน จากภารกิจที่มอบหมายนอกเหนือจากภารกิจหลัก หรือโครงการ/กิจกรรมอื่น ๆ น้ำหนัก ๒๐%

สำหรับผู้บริหาร (ตัวผู้อำนวยการโรงพยาบาล และสาธารณสุขอำเภอ) ตัวชี้วัดตัวรายบุคคลเน้น เรื่อง เบาหวาน ความดัน ไข้เลือดออก CMI, Service Plan และ เรื่อง ยาเสพติด ตัวที่ ๑ ตัวชี้วัดหน่วยงาน ๑ ตัว น้ำหนักตัวละ ๓๐% ตัวที่ ๒ ตัวชี้วัดรายบุคคล ๔ ตัว ตัวหลัก ๒๐% อีก ๓ ตัวๆละ ๑๐% ตัวที่ ๓ ส่วนของผู้บังคับบัญชาประเมิน จากภารกิจที่มอบหมายนอกเหนือจากภารกิจหลัก หรือโครงการ/กิจกรรมอื่นๆ น้ำหนัก ๒๐%

กรอบตัวชี้วัดรายบุคคล รายการ จำนวนตัวชี้วัด น้ำหนัก ตัวชี้วัดหน่วยงาน (package) 1 30 ตัวชี้วัดรายบุคคล - ตัวชี้วัดหลัก 20 - ตัวชี้วัดรอง 3 ส่วนของผู้บริหารประเมิน 100

กรอบการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ รายการ น้ำหนัก 1.การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 20 2.การบริการที่ดี 3.การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 4.การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม 5.การทำงานเป็นทีม 100

๕. การพิจารณาผลการประเมิน และการบริหารวงเงินที่ใช้ใน การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในรอบที่ ๒ ปี ๒๕๕๖ - การคำนวณวงเงิน ให้คำนวณจากอัตราเงินเดือนรวมของข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่จริง ณ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๖ เฉพาะข้าราชการที่มีบัญชีถือจ่าย (จ.๑๘) อยู่ที่จังหวัดสงขลาและกลุ่มที่มาช่วยราชการ โดยคำนวณร้อยละ ๒.๙๕ ไว้ก่อน เนื่องจากจังหวัดยังไม่ได้แจ้งการจัดสรรวงเงินที่ใช้ในการเลื่อนเงินเดือน ณ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖

กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สสจ.สงขลา สวัสดี