สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
การพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุ์ ปี
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
น.พ.อมร นนทสุต.
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
13/12/2007แผนยุทธศาสตร์ประจำปี 2551 โรงพยาบาลหนองม่วง 2 จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 20 ปีเพิ่มขึ้น ปี 2549 มีจำนวน 41 คน ปี 2550 มีจำนวน.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ดำเนินงานอนามัยวัยทำงาน ปี 2555
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
1 อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ในเขต 7 ที่ผ่านเกณฑ์ สรุป : อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ในภาพเขต 7 ผ่านเกณฑ์ร้อยละสะสม กระบวนการ มีส่วนร่วมในเขตชัดเจนมากที่สุด มีการกำกับติดตามที่ชัดเจนมากส่งผลให้ขอเป็น.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
Pass:
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
สกลนครโมเดล.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
วัยรุ่น และ...วัยเรียน นพ.บุญฤทธิ์ สุขรัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น

อัตราต่อประชากรหญิง 15 - 19 ปี 1,000 คน มากกว่า 70.0 มี 10 จังหวัด 50.1 –70.0 มี 44 จังหวัด 30.0 –50.0 มี 22 จังหวัด

ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด : อัตราการคลอดในมารดาอายุ ๑๕ – ๑๙ ปี ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด : อัตราการคลอดในมารดาอายุ ๑๕ – ๑๙ ปี (ไม่เกิน ๕๐ ต่อ ปชก. หญิงอายุ ๑๕ – ๑๙ ปี พันคน) จากกราฟ :สถานการณ์การคลอดในวัยรุ่น ของจังหวัดศรีสะเกษ มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ยังไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนด ต่ำกว่าระดับเขต 10 และระดับประเทศ การดำเนินงาน ปี 2557 ● สร้างเครือข่ายและพัฒนาวิทยากรแกนนำ จำนวน 25 คน ● ประเมินมาตรฐานคลินิกที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ● จัดทำแผนงาน/โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่าย การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นระดับจังหวัดและระดับโซน

ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด : อัตราการคลอดในมารดาอายุ ๑๕ – ๑๙ ปี ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด : อัตราการคลอดในมารดาอายุ ๑๕ – ๑๙ ปี (ไม่เกิน ๕๐ ต่อ ปชก. หญิงอายุ ๑๕ – ๑๙ ปี พันคน) (ต่อ) จากกราฟ :พบว่า ปีงบประมาณ 2557 อัตราการคลอดในมารดาวัยรุ่น ของจังหวัดศรีสะเกษ ภาพรวม 9.80 อำเภอขุนหาญมีวัยรุ่นคลอดสูงสุด 21.62 รองลงมาคือน้ำเกลี้ยง 16.49 และ ศรีรัตนะ 14.97 ต่อ ปชก.หญิงอายุ 15-19 ปีพันคน จากการวิเคราะห์สาเหตุการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น ส่วนใหญ่เกิดจากการขาดความเข้าใจเรื่องการคุมกำเนิดอย่างถูกวิธี และไม่สามารถเข้าถึงบริการการคุมกำเนิดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำเนินงานในระดับอำเภอ ● ให้ความรู้แก่กลุ่มวัยรุ่นและเยาวชนในโรงเรียน ชุมชน ผ่านหลักสูตร เพศวิถีศึกษา และทักษะชีวิต ● จัดตั้งคลินิกที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นในโรงพยาบาลทุกแห่ง เพื่อให้วัยรุ่นเข้าถึงบริการ ● พัฒนาก้าวสู่อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

แนวคิดการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม สถานศึกษา - พัฒนาหลักสูตรการเรียนเพศศึกษาอย่างรอบด้าน - โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร จัดการเรียนเพศศึกษา - จัดมุมเพื่อนใจวัยรุ่น หน่วยบริการสาธารณสุข - โรงพยาบาลจัดตั้งคลินิคบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ให้บริการสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชน ครอบครัว/ชุมชน - จัดทำแผนบูรณาการระดับจังหวัด/อปท. - สร้างครอบครัวอบอุ่นอนามัยการเจริญพันธุ์ - พัฒนาแกนนำวัยรุ่น/สภาเด็กฯ - พัฒนาคู่มือสำหรับ อสม./เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ แกนนำวัยรุ่นและเยาวชน/สื่อมวลชน

เป้าหมายพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 1.มีทักษะชีวิตเรื่องเพศ 2.รู้คุณค่าในตนเอง/ให้เกียรติสตรี 3.ใช้วิธีคุมกำเนิดอย่างเหมาะสม 4.ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์ 5.ใช้บริการการให้คำปรึกษา 6.ใช้บริการวางแผนครอบครัว

ผลลัพธ์ การชะลอการมีเพศสัมพันธ์ (Delay Sex) การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย ( Safe Sex) การวางแผนการตั้งครรภ์ (Plan Pregnancy)

การให้บริการคลินิกให้การปรึกษาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี พ.ศ. 2555-2557 ทางเลือก พ.ศ. 2555 (คน) พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 (คน) (5 ด) รวม ยุติการตั้งครรภ์ 59 61 25 145 ฝากครรภ์ 21 20 10 51 ติดตามไม่ได้ 6 4 16 86 41 188 ที่มา : จากคลินิกให้คำปรึกษาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมโรงพยาบาลศรีสะเกษ หมายเหตุ ● ปี 2555 ยอดผู้รับบริการทุกกลุ่มอายุ จำนวน 133 คน ● ปี 2556 ยอดผู้รับบริการทุกกลุ่มอายุ จำนวน 151 คน ● ปี 2557 ยอดผู้รับบริการทุกกลุ่มอายุ จำนวน 72 คน

ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น การประเมินอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ สรุปการประเมินมาตรฐานการจัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ จังหวัดศรีสะเกษ โรงพยาบาล การประเมินคลินิก ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น การประเมินอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 2556 2557 ศรีสะเกษ ไม่ผ่าน รอรับประเมิน - บึงบูรพ์ ราษีไศล ยางชุมน้อย อุทุมพรพิสัย ผ่าน ขุขันธ์ ขุนหาญ กันทรารมย์ หมายเหตุ : โรงพยาบาลทั้งหมด 22 แห่ง ผ่านการประเมินการจัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18 และยังไม่มีอำเภอที่ผ่านการประเมินอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์

ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นจังหวัดศรีสะเกษ เข้มแข็ง การกำกับ ติดตาม อย่างมีส่วนร่วมกับ คณะกรรมการ MCH Board ทั้งระดับจังหวัด และระดับอำเภอ การพัฒนาเครือข่ายวิทยากรแกนนำ “เพศวิถีศึกษา” ทั้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและครู รวม 225 คน